กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ การป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
รหัสโครงการ 66-L3005-05-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา
วันที่อนุมัติ 19 มิถุนายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 43,060.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอารีสกุล รอหะ
พี่เลี้ยงโครงการ นายมา เจะโพ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลางา อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.757586,101.474597place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
30.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อโดยมียุงลายเป็นพาหะ ที่สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสีย ทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี พื้นที่ตำบลลางา พบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 50 ราย คิดเป็น 756.55 ต่อประชากรแสนคน ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ด้วยสภาพอากาศที่เอื้อต่อการแพร่ระบาดบวกกับสภาพแวดล้อมที่เป็นกึ่งเมื่องกึงชุนบท มีน้ำขังตามแหล่งชุมชนต่างๆ ทำให้ยุงสามารถวางไข่และเจริญเติบโตได้ง่ายขึ้น ด้วยเหตุนี้การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันโรค ไม่ว่าจะเป็น การรักษาความสะอาด การสำรวจลูกน้ำยุงลาย การกำจัดลูกน้ำยุงลาย การพ่นหมอกควัน เป็นต้น ดังนั้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ตำบลลางาจึงได้จัดทำโครงการ “โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่” ขึ้น เพื่อเป็นการเตรียมรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของไข้เลือดออกและให้มีการทำงานอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ ตลอดจนกระตุ้นเตือนให้ประชาชนในชุมชนทุกภาคส่วน ร่วมมือผนึกพลัง ความคิดความร่วมมือแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกร่วมกัน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อลดอัตราการป่วยและการระบาดของโรคไข้เลือดออก

1 .ดัชนียุงลายน้อยกว่า 10
2.ผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกน้อยกว่า 20 ต่อประชากรแสนคน

10.00 1.00
2 2.เพื่อดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทันเหตุการณ์

1.พื้นที่ที่มีโรคไข้เลือดออก ได้รับการควบคุม ป้องกัน ไม่มีรายที่ เกิดขึ้นในช่วงของการระบาด

10.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 43,060.00 0 0.00
1 - 30 มิ.ย. 66 1.ประชุมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มอสม.และเครือข่ายในพื้นที่ในการป้องกัน ควบคุมโรคอย่างมีส่วนร่วม 0 6,000.00 -
1 - 31 ก.ค. 66 2.การป้องกันและควบคุมการระบาดในพื้นที่ 0 37,060.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
2.ลดอัตราการเกิดรายใหม่ของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกและมีการควคุมได้ทันเวลา

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ค. 2566 13:50 น.