กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเปาะเส้ง ประจำปี 2566
รหัสโครงการ 66-L4136-4-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักงานเลขาฯ กองทุนฯ
วันที่อนุมัติ 31 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 69,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขานุการกองทุน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 31 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นกลไกสำคัญต่อความสำเร็จของการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เพราะคณะกรรมการเป็นบุคคลสำคัญในการประสานความร่วมมือระหว่างภาครัฐองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาชนที่จะทำให้เกิดการทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุนและเรียนรู้ร่วมกันพัฒนาการดำเนินงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพดีทั้งกายและใจ ดังนั้น คณะกรรมการจริงควรได้รับการพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการกองทุนมีความรู้ความความเข้าใจในบทบาทหน้าที่มีวิสัยทัศน์มีทัศนคติเชิงบวกต่อการดำเนินงานของกองทุนเห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชนให้โอกาสในการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนอย่างเสมอภาคเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นร่วมตัดสินใจมีการตรวจสอบและให้เข้าร่วมกิจกรรมได้อย่างเท่าเทียมกันซึ่งสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้กำหนดโครงสร้างของคณะกรรมการให้ทุกภาคส่วนในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมบริหารจัดการอยู่แล้วคณะกรรมการทุกคนจึงควรมีเจตคติความเข้าใจที่มุ่งสู่เป้าหมายเดียวกันคือทำให้ประชาชนทุกคนในพื้นที่มีคุณภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจอย่างยั่งยืน คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตำบลเปาะเส้งควรมีการอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจและการประชุมสัมมนาและการศึกษาแลกเปลี่ยนความรู้ในเรื่องต่าง ๆได้แก่ 1.การสร้างกระบวนการการมีส่วนร่วมในการทำงานการสร้างจิตสำนึก 2.การทำงานเป็นทีมและการสร้างผู้นำ 3.การสร้างเสริมสุขภาพในทุกกลุ่มอายุ 4.การป้องกันโรคติดต่อและไม่ติดต่อ 5.การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ 6.ระบบการบริหารจัดการที่ดีมีธรรมภิบาลยึดระบบคุณธรรม 7.อบรมการบันทึกโปรแกรมข้อมูลกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 8.การจัดทำแผนทางเดินยุทธศาสตร์แผนสุขภาพชุมชน 9.การวิเคราะห์ข้อมูลการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา 10.การเขียนโครงการและการติดตามประเมินผลโครงการเป็นต้น เพื่อให้เกิดการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องอันได้แก่คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพสุขภาพตำบลเปาะเส้งจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อจัดหาวัสดุและครุภัณฑ์ ที่จำเป็นมาใช้ในงานของกองทุน ฯจ่ายเบี้ยเลี้ยงในการประชุมค่าอาหารและอาหารว่างและเครื่องดื่มรวมถึงค่าใช้จ่ายอื่นๆที่จำเป็น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในพื้นที่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการทำแผนที่ยุทศาสตร์หรือแผนสุขภาพชุมชนมาเป็นเครื่องมือบริหารจัดการ 2.เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพและผู้เกี่ยวข้องเข้าใจการบริหารกองทุนไปในทิศทางเดียวกัน 3.เพื่อประชาสัมพันธ์ การส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนในพื้นที่โดยเน้นการมีส่วนร่วมและดำเนินงานร่วมกันแบบบูรณาการ 4.เพื่อเป็นการติดตามผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพอย่างอย่างต่อเนื่อง 5.เพื่อจัดซื้อวัสดุ และครุภัณฑ์ ที่จำเป็นมาใช้ในงานของกองทุนฯ 6.เพื่อเป็นค่าเบี้ยเลี้ยงในการประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการของกองทุนฯ 7.ค่าอาหารและอาหารว่าง

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 30 69,800.00 0 0.00
1 ต.ค. 65 - 30 ก.ย. 66 จัดประชุม 30 43,110.00 -
1 ต.ค. 65 - 30 ก.ย. 66 จัดซื้อวัสดุ ครุภัณฑ์ 0 26,690.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการทำแผนที่ยุทธศาสตร์หรือแผนสุขภาพชุมชนมาเป็นเครื่องมือบริหารจัดการ 2.คณะกรรมการฯสามารถเข้าใจในการบริหารกองทุนฯได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.เกิดการประชุมสัมพันธ์และการเน้นการมีส่วนร่วมและดำเนินงานร่วมกันแบบบูรณาการ 4.เกิดการติดตามผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ต.ค. 2565 00:00 น.