กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 ทดสอบสมรรถภาพทางกายและสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพและแนะนำการออกกำลังกายที่เหมาะสมเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง24 สิงหาคม 2566
24
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลสะเตงนอก
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะผู้ดำเนินโครงการ เพื่อกำหนดแนวทาง วิธีการ การดำเนินงานโครงการ ณ เทศบาลเมืองสะเตงนอก
  2. เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
  3. ติดต่อประสานงานวิทยากรและผู้เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินการอบรม และจัดกิจกรรมตามโครงการ
  4. จัดจ้างทำสื่อและประชาสัมพันธ์
  5. จัดเตรียมวัสดุเครื่องเขียนและอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมตามโครงการ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้ที่มีความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองมีศักยภาพและองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง และมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว ให้มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างเหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายถูกวิธีอย่างสม่ำเสมอ งดสูบบุหรี่ และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
  2. ผู้ที่มีความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองสามารถประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในภาวะฉุกเฉินได้ด้วยตนเอง 3.ประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างพฤติกรรมที่ดีในชุมชน
กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้โรคหลอดเลือดสมอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ24 สิงหาคม 2566
24
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลสะเตงนอก
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. รวบรวมข้อมูลผู้ที่มีความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง
  2. ประชุมคณะผู้ดำเนินโครงการ เพื่อกำหนดแนวทาง วิธีการ การดำเนินงานโครงการ ณ เทศบาลเมือง      สะเตงนอก
  3. เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
  4. ติดต่อประสานงานวิทยากรและผู้เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินการอบรม และจัดกิจกรรมตามโครงการ
  5. จัดจ้างทำสื่อและประชาสัมพันธ์
  6. จัดเตรียมวัสดุเครื่องเขียนและอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมตามโครงการ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้ที่มีความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองมีศักยภาพและองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง และมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว ให้มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างเหมาะสม ลดหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายถูกวิธีอย่างสม่ำเสมอ งดสูบบุหรี่ และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
  2. ผู้ที่มีความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองสามารถประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในภาวะฉุกเฉินได้ด้วยตนเอง 3.ประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างพฤติกรรมที่ดีในชุมชน