กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง


“ เยาวชนเข้มแข็ง พัฒนาสุขภาพ คลองรี ปี 67 ”

บ้านคลองรี ม.1 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมาฮาซัน หะยีมุเสาะ

ชื่อโครงการ เยาวชนเข้มแข็ง พัฒนาสุขภาพ คลองรี ปี 67

ที่อยู่ บ้านคลองรี ม.1 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3065-2-04 เลขที่ข้อตกลง 01/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"เยาวชนเข้มแข็ง พัฒนาสุขภาพ คลองรี ปี 67 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านคลองรี ม.1 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เยาวชนเข้มแข็ง พัฒนาสุขภาพ คลองรี ปี 67



บทคัดย่อ

โครงการ " เยาวชนเข้มแข็ง พัฒนาสุขภาพ คลองรี ปี 67 " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านคลองรี ม.1 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3065-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 90 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่เปลี่ยนไปจากเดิมจากสังคมชนบทเป็นสังคมเมือง ผลที่ตามมาหลายครอบครัวต้องทำงานอย่างหนักไม่มีเวลาที่จะดูแลสุขภาพ ภัยมืดที่คุกคามสุขภาพในรูปแบบต่างๆก็จะตามมา ผู้ปกครองไม่มีเวลาเอาใจใส่เด็กๆ โรคที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคเพิ่มขึ้น จากมติที่ประชุมของชมรม พบภัยมืดที่คุกคามสุขภาพวัยเรียนดังนี้
1. เด็กหรือเยาวชนมีภาวะอ้วนมากกว่าเดิมเนื่องจากการบริโภคแป้งและน้ำตาล
2. เด็กขาดทักษะชีวิตเนื่องจากสิ่งอำนวยความสะดวกที่ผู้ปกครองหามาให้ 3. เด็กมีความก้าวร้าวโลกส่วนตัวสูง เนื่องจากสื่อ อุปกรณ์โซเชียล
ทางชมรมคนรักกีฬา ม.1 บ้านคลองรี เป็นส่วนหนึ่งของชุมชนที่มีความใกล้ชิดกับทุกกลุ่มวัยในพื้นที่อยากเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆเพื่อให้เยาวชนมีสุขภาพกายและใจที่เข้มแข็ง โดยเฉพาะในกลุ่มของเยาวชนที่เป็นกำลังหลักของชุมชนในการทำกิจกรรมต่างๆ มีกิจกรรมปฏิสัมพันธ์กับเยาวชนมานานหลายปี จากการสังเกตและรวบรวมข้อมูลของชมรมพบว่า หากเยาวชนได้มีการรวมตัวกัน มีความเข้าใจในรูปแบบการดำเนินชีวิตที่เหมือนกันก่อให้เกิดความสามัคคีกัน ภัยคุกคามต่างๆจากภายนอก ก็จะไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเยาวชนและประชาชนในพื้นที่ เพราะเยาวชนคือกำลัง พลัง อนาคตของชุมชน เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพตนเอง คนรอบข้าง ชุมชนอย่างต่อเนื่อง ทางชมรมจึงได้จัดทำโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนจากกองทุนฯเพื่อดำเนินการอย่างต่อเนื่องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังภัยมืดที่คุกคามสุขภาพเยาวชนในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมที่เป็น การส่งเสริมสุขภาพเป็นประโยชน์ต่อตนเองและชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเครือข่ายสร้างสุขภาพ
  2. ประเมินโครงการ
  3. พัฒนาทักษะองค์ความรู้
  4. ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย การขยับกาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 90
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เยาวชนได้ตระหนักให้ความสำคัญต่อสุขภาพของตนเอง และคนรอบข้าง
  2. เยาวชนมีพฤติกรรมไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด สามารถปฏิบัติตนในแนวทางที่ถูกต้อง เหมาะสมและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้อื่น ในสถานศึกษา และชุมชุน
  3. สิ่งแวดล้อมดี ชุมชนน่าอยู่
  4. เยาวชนตระหนักในกิจกรรมจิตอาสา
  5. เยาวชนเป็นกำลังหลักของหมู่บ้านในทุกเรื่อง
  6. เยาวชนมีความรู้สึกสำคัญมีคุณค่าในตนเอง และชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังภัยมืดที่คุกคามสุขภาพเยาวชนในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเยาวชนในพื้นที่มีทัศนคติที่ถูกต้องนำสู่การปฏิบัติที่ดี ต่อตนเองและชุมชน
90.00 81.00

 

2 เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมที่เป็น การส่งเสริมสุขภาพเป็นประโยชน์ต่อตนเองและชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเยาวชนในพื้นที่ได้มีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและชุมชน
90.00 81.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 90
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังภัยมืดที่คุกคามสุขภาพเยาวชนในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมที่เป็น การส่งเสริมสุขภาพเป็นประโยชน์ต่อตนเองและชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเครือข่ายสร้างสุขภาพ (2) ประเมินโครงการ (3) พัฒนาทักษะองค์ความรู้ (4) ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย การขยับกาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เยาวชนเข้มแข็ง พัฒนาสุขภาพ คลองรี ปี 67 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3065-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมาฮาซัน หะยีมุเสาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด