กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง


“ โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอารีย์ เกื้อคลัง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ ในแต่ละปีมีผุ้ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกจำนวนมาก บางรายมีอาการรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต ทำให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม รัฐบาลได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวออกมากำหนดนโยบายหลักการดำเนินการ กำหนดให้โรคไข้เลือดออกเป็นตัวชี้วัดหนึ่งในการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์นโยบายกระทรวงสาธารณสุข โดยที่สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่งจะต้องมีการเตรียมความพร้อมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยต้องมีการบูรณาการแผนงาน กิจกรรมและงบประมาณ กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ในปี 2560 มีรายงานผู้ป่วย จำนวน 2 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 72.22 ต่อแสนประชากร ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต เกณฑ์สำคัญที่นำมาพิจารณา คือ ค่าร้อยละของครัวเรือนที่พบลูกน้ำยุงลาย ไม่เกินร้อยละ 10 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนหมู่บ้าน/ชุมชน ทั้งหมด และโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด มัสยิด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 การดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกจำเป็นต้องดำเนินการตั้งแต่ก่อนเกิดโรค เมื่อเกิดโรคและหลังจากเกิดโรคนั้น มีความจำเป็นอย่างยิ่ง โดยต้องดำเนินการอย่างครอบคลุมต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพและทันเวลา ในการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย การให้ความรู้แก่ประชาชน การพ่นเคมีเพื่อทำลายยุงลายตัวเต็มวัย การสนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการสร้างความร่วมมือในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ให้มีส่วนร่วมดำเนินการ ซึ่งจะทำให้การป้องกันควบคุมไข้เลือดออกโดยการสร้างความร่วมมือของเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย สามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
  2. เพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก
  3. เพื่อการควบคุมการระบาดของโรคไม่ให้เกิดการระบาดซ้ำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 891
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง และไม่มีการระบาดซ้ำ 2.ประชาชนเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย มีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตัวในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 3.มีความร่วมมือระหว่างเทศบาลตำบล อสม. ประชาชน และหน่วยงานสาธารณสุขในการเฝ้าระวังโรคระบาดประจำถิ่น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.คณะกรรมการทีม SRRT เครื่อข่ายตำบลมีความพร้อมในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ จำนวน 50 คน 2. ครัวเรือนมีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย จำนวน 675 ครัวเรือน 3. บ้านผู้ป่วยและรัศมี 100 เมตร จำนวน 16 ครัวเรือน 4. ผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 3 ราย พฤติกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพ 1.ครัวเรือนมีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 2. ครัวเรือนมีการใส่ทรายอะเบทกำจัดลูกยุงลายในภาชนะที่มีน้ำขัง 3. ฉีดพ่นสเปรย์กำจัดยุงตัวเต็มวัยในบ้านไข้เลือดออก และรัศมี 100 เมตร ปัญหา/อุปสรรค ชุมชนที่เกิดไข้เลือดออกมีขยะมูลฝอยจำนวนมากทำให้มีน้ำขังและมีลูกน้ำ สาเหตุ เพราะ ครัวเรือนไม่กำจัดขยะมูลฝอย แนวทางแก้ไข้ ขอความร่วมมือให้ครัวเรือนกำจัดขยะมูลฝอย และทำความสะอาด ปรับพื้นที่บริเวณรอบบ้าน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
    ตัวชี้วัด : อัตราครัวเรือนมีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ 90
    0.00

    อัตราครัวเรือนมีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกยุงลายร้อยละ 90 ผลการประเมิน

    2 เพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : อัตตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐานของอัตราป่วยย้อนหลัง 5 ปี
    0.00

    อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 50 ของค่ามัธญฐานย้อนหลัง 5 ปี ผลการประเมิน

    3 เพื่อการควบคุมการระบาดของโรคไม่ให้เกิดการระบาดซ้ำ
    ตัวชี้วัด : อัตราหมู่บ้านที่เกิดโรคไข้เลือดออกไม่มีการระบาดซ้ำ (Second Generation Case) ร้อยละ 100
    0.00

    อัตราหมู่บ้านที่เกิดโรคไข้เลือดออกไม่มีการระบาดซ้ำ ร้อยละ 100

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 941
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 891
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย (2) เพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อการควบคุมการระบาดของโรคไม่ให้เกิดการระบาดซ้ำ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอารีย์ เกื้อคลัง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด