กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
6.ตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยงในการใช้ยาฆ่าแมลง17 ตุลาคม 2561
17
ตุลาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลฉลุง จังหวัดสงขลา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.จัดประชุมให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ประกอบการอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร เรื่องการสุขาภิบาลอาหารและขอความร่วมมือลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร 2.จัดประชุมให้ความรู้เรื่องอาหารและการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยแก่เจ้าของแผงลอยจำหน่ายอาหารประเภท ปิ้ง ย่าง ยำ และเจ้าของร้านขายของชำ 3.ประสานงานกับ สสอ. และ CUP ขอสนับสนุนยานพาหนะในการออกปฏิบัติงานเชิงรุก 4.ขอสนับสนุนน้ำยา si2 จาก สสอ. และ CUP 5.อสม.ช.ที่ผ่านการอบรมสุขาภิบาลอาหารออกแนะนำเจ้าของแผงลอยจำหน่ายอาหารประเภทปิ้ง ย่าง ยำ และเจ้าของร้านขายของชำ ก่อนทีมคณะทำงานอาหารปลอดภัยโซนฯออกตรวนประเมิน 6.ประสานทีมคณะทำงานอาหารปลอดภัยโซนฯออกตรวจ ประเมินร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร พร้อมให้คำแนะนำในการปฏิบัติเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหาร 7.ตรวจการปนเปื้อนโคลิฟอร์มแบคทีเรียของผู้สัมผัสอาหาร ภาชนะอุปกรณ์ด้วยน้ำยา si2 แก่ร้านอาหารและแผงลอยที่ผ่านการประเมินตามข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหาร 8.จัดทำหนังสือและประชาสัมพันธ์เชิญชวน ขอความร่วมมือองค์กร/ชุมชน ระดับตำบลเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ลด ละ เลิก ใช้โฟมบรรจุอาหาร 9.จัดตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยงในการใช้ยาฆ่าแมลง และบริโภคผักปลอดสารพิษ โดยการตรวจเลือด พร้อมให้ความรู้ในการปฏิบัติตน เช่น การล้างผัก การปลูกผักกินเอง 10.ประชาสัมพันธ์การเลือกบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยจากยาฆ่าแมลงผ่านผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และหอกระจายข่าวอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 11.ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน 12.สรุปผลการดำเนินงาน และประเมินผลโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยงในการใช้ยาฆ่าแมลง  จำนวน 150 คน

4.จัดประชุมให้ความรู้ในการใช้ยาฆ่าแมลง และบริโภคผักปลอดสารพิษ การล้างผัก การปลูกผักกินเอง24 สิงหาคม 2561
24
สิงหาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลฉลุง จังหวัดสงขลา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.จัดประชุมให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ประกอบการอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร เรื่องการสุขาภิบาลอาหารและขอความร่วมมือลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร 2.จัดประชุมให้ความรู้เรื่องอาหารและการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยแก่เจ้าของแผงลอยจำหน่ายอาหารประเภท ปิ้ง ย่าง ยำ และเจ้าของร้านขายของชำ 3.ประสานงานกับ สสอ. และ CUP ขอสนับสนุนยานพาหนะในการออกปฏิบัติงานเชิงรุก 4.ขอสนับสนุนน้ำยา si2 จาก สสอ. และ CUP 5.อสม.ช.ที่ผ่านการอบรมสุขาภิบาลอาหารออกแนะนำเจ้าของแผงลอยจำหน่ายอาหารประเภทปิ้ง ย่าง ยำ และเจ้าของร้านขายของชำ ก่อนทีมคณะทำงานอาหารปลอดภัยโซนฯออกตรวนประเมิน 6.ประสานทีมคณะทำงานอาหารปลอดภัยโซนฯออกตรวจ ประเมินร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร พร้อมให้คำแนะนำในการปฏิบัติเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหาร 7.ตรวจการปนเปื้อนโคลิฟอร์มแบคทีเรียของผู้สัมผัสอาหาร ภาชนะอุปกรณ์ด้วยน้ำยา si2 แก่ร้านอาหารและแผงลอยที่ผ่านการประเมินตามข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหาร 8.จัดทำหนังสือและประชาสัมพันธ์เชิญชวน ขอความร่วมมือองค์กร/ชุมชน ระดับตำบลเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ลด ละ เลิก ใช้โฟมบรรจุอาหาร 9.จัดตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยงในการใช้ยาฆ่าแมลง และบริโภคผักปลอดสารพิษ โดยการตรวจเลือด พร้อมให้ความรู้ในการปฏิบัติตน เช่น การล้างผัก การปลูกผักกินเอง 10.ประชาสัมพันธ์การเลือกบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยจากยาฆ่าแมลงผ่านผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และหอกระจายข่าวอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 11.ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน 12.สรุปผลการดำเนินงาน และประเมินผลโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชุมให้ความรู้ในการใช้ยาฆ่าแมลง และบริโภคผักปลอดสารพิษ การล้างผัก การปลูกผักกินเอง และตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ในการใช้ยาฆ่าแมลง และบริโภคผักปลอดสารพิษ โดยการตรวจเลือด พร้อมให้ความรู้ในการปฎิบัติตน จำนวน 150 คน ได้ผลการตรวจวิเคราะหืดังนี้ - ผลปกติ จำนวน 2 คน ร้อยละ 1.33 - ผลปลอดภัย จำนวน 76 คน ร้อยละ 50.66 - ผลเสี่ยง จำนวน 55 คน ร้อยละ 36.66 - ผลไม่ปลอดภัย จำนวน 14 คน ร้อยละ 9.3

5.ตรวจประเมินร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร23 สิงหาคม 2561
23
สิงหาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลฉลุง จังหวัดสงขลา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.จัดประชุมให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ประกอบการอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร เรื่องการสุขาภิบาลอาหารและขอความร่วมมือลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร 2.จัดประชุมให้ความรู้เรื่องอาหารและการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยแก่เจ้าของแผงลอยจำหน่ายอาหารประเภท ปิ้ง ย่าง ยำ และเจ้าของร้านขายของชำ 3.ประสานงานกับ สสอ. และ CUP ขอสนับสนุนยานพาหนะในการออกปฏิบัติงานเชิงรุก 4.ขอสนับสนุนน้ำยา si2 จาก สสอ. และ CUP 5.อสม.ช.ที่ผ่านการอบรมสุขาภิบาลอาหารออกแนะนำเจ้าของแผงลอยจำหน่ายอาหารประเภทปิ้ง ย่าง ยำ และเจ้าของร้านขายของชำ ก่อนทีมคณะทำงานอาหารปลอดภัยโซนฯออกตรวนประเมิน 6.ประสานทีมคณะทำงานอาหารปลอดภัยโซนฯออกตรวจ ประเมินร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร พร้อมให้คำแนะนำในการปฏิบัติเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหาร 7.ตรวจการปนเปื้อนโคลิฟอร์มแบคทีเรียของผู้สัมผัสอาหาร ภาชนะอุปกรณ์ด้วยน้ำยา si2 แก่ร้านอาหารและแผงลอยที่ผ่านการประเมินตามข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหาร 8.จัดทำหนังสือและประชาสัมพันธ์เชิญชวน ขอความร่วมมือองค์กร/ชุมชน ระดับตำบลเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ลด ละ เลิก ใช้โฟมบรรจุอาหาร 9.จัดตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยงในการใช้ยาฆ่าแมลง และบริโภคผักปลอดสารพิษ โดยการตรวจเลือด พร้อมให้ความรู้ในการปฏิบัติตน เช่น การล้างผัก การปลูกผักกินเอง 10.ประชาสัมพันธ์การเลือกบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยจากยาฆ่าแมลงผ่านผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และหอกระจายข่าวอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 11.ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน 12.สรุปผลการดำเนินงาน และประเมินผลโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ออกตรวจประเมินแผงลอยจำหน่ายอาหาร พร้อมให้คำแนะนำตามเกณฑ์ข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหาร 12 ข้อ จำนวน 36 แผง
- ผ่านเกณฑ์ จำนวน 35 แผง - ไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 1 แผง

3.ประชาสัมพันธ์เชิญชวน ประชุมขอความร่วมมืองค์กร/ชุมชน ระดับตำบล เช่น โรงเรียน อบต.ส่วนราชการ เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ลด ละ เลิก ใช้โฟมบรรจุอาหาร23 สิงหาคม 2561
23
สิงหาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลฉลุง จังหวัดสงขลา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.จัดประชุมให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ประกอบการอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร เรื่องการสุขาภิบาลอาหารและขอความร่วมมือลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร 2.จัดประชุมให้ความรู้เรื่องอาหารและการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยแก่เจ้าของแผงลอยจำหน่ายอาหารประเภท ปิ้ง ย่าง ยำ และเจ้าของร้านขายของชำ 3.ประสานงานกับ สสอ. และ CUP ขอสนับสนุนยานพาหนะในการออกปฏิบัติงานเชิงรุก 4.ขอสนับสนุนน้ำยา si2 จาก สสอ. และ CUP 5.อสม.ช.ที่ผ่านการอบรมสุขาภิบาลอาหารออกแนะนำเจ้าของแผงลอยจำหน่ายอาหารประเภทปิ้ง ย่าง ยำ และเจ้าของร้านขายของชำ ก่อนทีมคณะทำงานอาหารปลอดภัยโซนฯออกตรวนประเมิน 6.ประสานทีมคณะทำงานอาหารปลอดภัยโซนฯออกตรวจ ประเมินร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร พร้อมให้คำแนะนำในการปฏิบัติเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหาร 7.ตรวจการปนเปื้อนโคลิฟอร์มแบคทีเรียของผู้สัมผัสอาหาร ภาชนะอุปกรณ์ด้วยน้ำยา si2 แก่ร้านอาหารและแผงลอยที่ผ่านการประเมินตามข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหาร 8.จัดทำหนังสือและประชาสัมพันธ์เชิญชวน ขอความร่วมมือองค์กร/ชุมชน ระดับตำบลเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ลด ละ เลิก ใช้โฟมบรรจุอาหาร 9.จัดตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยงในการใช้ยาฆ่าแมลง และบริโภคผักปลอดสารพิษ โดยการตรวจเลือด พร้อมให้ความรู้ในการปฏิบัติตน เช่น การล้างผัก การปลูกผักกินเอง 10.ประชาสัมพันธ์การเลือกบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยจากยาฆ่าแมลงผ่านผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และหอกระจายข่าวอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 11.ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน 12.สรุปผลการดำเนินงาน และประเมินผลโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชาสัมพันธ์เชิญชวน ประชุม ขอความร่วมมือองค์กร / ชุมชน ระดับตำบล โรงเรียน อบต.ส่วนราชการ เข้าร่วมกิจกรรมณรงค์ลด ละ เลิก ใช้โฟมบรรจุอาหาร

2.จัดประชุมให้ความรู้เรื่องอาหารและการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย แก่เจ้าของแผงลอยจำหน่วยอาหารประเภท ปิ้ง ย่าง ยำ และเจ้าของร้านขายของชำ23 สิงหาคม 2561
23
สิงหาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลฉลุง จังหวัดสงขลา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.จัดประชุมให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ประกอบการอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร เรื่องการสุขาภิบาลอาหารและขอความร่วมมือลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร 2.จัดประชุมให้ความรู้เรื่องอาหารและการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยแก่เจ้าของแผงลอยจำหน่ายอาหารประเภท ปิ้ง ย่าง ยำ และเจ้าของร้านขายของชำ 3.ประสานงานกับ สสอ. และ CUP ขอสนับสนุนยานพาหนะในการออกปฏิบัติงานเชิงรุก 4.ขอสนับสนุนน้ำยา si2 จาก สสอ. และ CUP 5.อสม.ช.ที่ผ่านการอบรมสุขาภิบาลอาหารออกแนะนำเจ้าของแผงลอยจำหน่ายอาหารประเภทปิ้ง ย่าง ยำ และเจ้าของร้านขายของชำ ก่อนทีมคณะทำงานอาหารปลอดภัยโซนฯออกตรวนประเมิน 6.ประสานทีมคณะทำงานอาหารปลอดภัยโซนฯออกตรวจ ประเมินร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร พร้อมให้คำแนะนำในการปฏิบัติเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหาร 7.ตรวจการปนเปื้อนโคลิฟอร์มแบคทีเรียของผู้สัมผัสอาหาร ภาชนะอุปกรณ์ด้วยน้ำยา si2 แก่ร้านอาหารและแผงลอยที่ผ่านการประเมินตามข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหาร 8.จัดทำหนังสือและประชาสัมพันธ์เชิญชวน ขอความร่วมมือองค์กร/ชุมชน ระดับตำบลเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ลด ละ เลิก ใช้โฟมบรรจุอาหาร 9.จัดตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยงในการใช้ยาฆ่าแมลง และบริโภคผักปลอดสารพิษ โดยการตรวจเลือด พร้อมให้ความรู้ในการปฏิบัติตน เช่น การล้างผัก การปลูกผักกินเอง 10.ประชาสัมพันธ์การเลือกบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยจากยาฆ่าแมลงผ่านผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และหอกระจายข่าวอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 11.ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน 12.สรุปผลการดำเนินงาน และประเมินผลโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชุมให้ความรู้เรื่องอาหารและการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย แก่เจ้าของแผงลอยจำหน่วยอาหารประเภท ปิ้ง ย่าง ยำ และเจ้าของร้านขายของชำ จำนวน 30 คน

1.จัดประชุมให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ประกอบการอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร หรือผู้สัมผัสอาหาร เรื่องการสุขาภิบาลอาหาร และการลด ละ เลิกใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร23 สิงหาคม 2561
23
สิงหาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลฉลุง จังหวัดสงขลา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.จัดประชุมให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ประกอบการอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร เรื่องการสุขาภิบาลอาหารและขอความร่วมมือลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร 2.จัดประชุมให้ความรู้เรื่องอาหารและการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยแก่เจ้าของแผงลอยจำหน่ายอาหารประเภท ปิ้ง ย่าง ยำ และเจ้าของร้านขายของชำ 3.ประสานงานกับ สสอ. และ CUP ขอสนับสนุนยานพาหนะในการออกปฏิบัติงานเชิงรุก 4.ขอสนับสนุนน้ำยา si2 จาก สสอ. และ CUP 5.อสม.ช.ที่ผ่านการอบรมสุขาภิบาลอาหารออกแนะนำเจ้าของแผงลอยจำหน่ายอาหารประเภทปิ้ง ย่าง ยำ และเจ้าของร้านขายของชำ ก่อนทีมคณะทำงานอาหารปลอดภัยโซนฯออกตรวนประเมิน 6.ประสานทีมคณะทำงานอาหารปลอดภัยโซนฯออกตรวจ ประเมินร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร พร้อมให้คำแนะนำในการปฏิบัติเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหาร 7.ตรวจการปนเปื้อนโคลิฟอร์มแบคทีเรียของผู้สัมผัสอาหาร ภาชนะอุปกรณ์ด้วยน้ำยา si2 แก่ร้านอาหารและแผงลอยที่ผ่านการประเมินตามข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหาร 8.จัดทำหนังสือและประชาสัมพันธ์เชิญชวน ขอความร่วมมือองค์กร/ชุมชน ระดับตำบลเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ลด ละ เลิก ใช้โฟมบรรจุอาหาร 9.จัดตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยงในการใช้ยาฆ่าแมลง และบริโภคผักปลอดสารพิษ โดยการตรวจเลือด พร้อมให้ความรู้ในการปฏิบัติตน เช่น การล้างผัก การปลูกผักกินเอง 10.ประชาสัมพันธ์การเลือกบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยจากยาฆ่าแมลงผ่านผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และหอกระจายข่าวอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 11.ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน 12.สรุปผลการดำเนินงาน และประเมินผลโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชุมให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ประกอบการอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร หรือผู้สัมผัสอาหาร เรื่องการสุขาภิบาลอาหาร และการลด ละ เลิกใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 36 คน