กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางรัก


“ โครงการประเมินความต้องการจำเป็นในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลบางรัก ”

ตำบลบางรัก อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสิริรสกิ้มเฉี้ยง

ชื่อโครงการ โครงการประเมินความต้องการจำเป็นในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลบางรัก

ที่อยู่ ตำบลบางรัก อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1499-2-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประเมินความต้องการจำเป็นในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลบางรัก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางรัก อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางรัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินความต้องการจำเป็นในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลบางรัก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประเมินความต้องการจำเป็นในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลบางรัก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางรัก อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1499-2-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางรัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โลกกำลังก้าวเข้าสู่ “ศตวรรษแห่งผู้สูงอายุ” เนื่องจากขนาดและสัดส่วนประชากรของผู้สูงอายุทั่วโลกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเกิดขึ้นทั้งประเทศที่พัฒนาแล้วและกำลังพัฒนา โครงสร้างประชากรโลกในศตวรรษที่ 21 จึงเคลื่อนเข้าสู่ระยะที่เรียกว่า “ภาวะประชากรสูงอายุ” (population aging) ไทยเป็นประเทศหนึ่งในจำนวนประเทศกำลังพัฒนาที่กำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุซึ่งองค์การสหประชาชาติให้นิยามไว้ว่าหมายถึงสังคมซึ่งมีประชากรที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 7 ของประชากรทั้งประเทศสาหรับประเทศไทยได้ในนิยามแตกต่างไปเล็กน้อยว่าหมายถึงการมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ(นภาภรณ์หะวานนท์และธีรวัลย์วรรธโนทัย, 2552: 60) จากผลสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่าประเทศไทยมีจำนวนและสัดส่วนของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องโดยในปี พ.ศ. 2537 มีจำนวนผู้สูงอายุคิดเป็นร้อยละ 6.8 ของประชากรทั้งประเทศปี พ.ศ. 2545 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 9.4 ผลสำรวจปี พ.ศ. 2550 พบว่าผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 10.7 ของประชากรทั้งประเทศ (สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2551: 3) มีการคาดการณ์ว่าจะมีแนวโน้มที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆโดยคาดว่าในปี พ.ศ. 2558 จะมีจำนวนผู้สูงอายุ 9.03 ล้านคนคิดเป็นร้อยละ 14.0 ของประชากรทั้งประเทศและเพิ่มเป็น 12.9 ล้านคนคิดเป็นร้อยละ 19.8 ของประชากรทั้งประเทศในปี พ.ศ. 2568 (สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล, 2548 : 8) และจำนวนประชากรผู้สูงอายุที่มีมากขึ้นเรื่อยๆจะมีติดต่อกันไม่น้อยกว่า 30 ปี ในปี พ.ศ. 2583 คาดประมาณว่าประเทศไทยจะมีประชากรผู้สูงอายุจำนวนสูงถึง 17.5 ล้านคนหรือประมาณเกือบ 1 ใน4 ของประชากรทั้งประเทศ (นภาภรณ์หะวานนท์และธีรวัลย์วรรธโนทัย, 2552: 138) และจากการประมาณการดัชนีผู้สูงวัย (Index of Aging ได้จาก ดัชนีการสงูวัย(IOA) = ร้อยละของอัตราส่วนจำนวนประชากรสูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) ต่อจำนวนประชากรวัยเด็ก(ต่ำกว่า 15 ปีหรือ IOA =(P60+/P15-) x 100) ในปี 2563 จะมีค่าประมาณร้อยละ 113.89เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 143.98 ในปี 2568และสูงถึงร้อยละ 179.38 ในปี2573(กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์,2557)ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศทั้งในภาคแรงงานและการกำหนดนโยบาย เนื่องจากผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและจิตใจเช่นการมีสุขภาพร่างกายที่อ่อนแอลงประสิทธิภาพในการทำงานลดลงมีจิตใจหดหู่เหงาว้าเหว่เป็นต้นและมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมด้วยเช่นการมีบทบาทในสังคมน้อยลงการที่ผู้คนมองผู้สูงอายุว่าไม่มีคุณค่าหรือไร้ประโยชน์การต้องพึ่งพาตนเองมากขึ้นเป็นต้นดังนั้นการพัฒนาใด ๆ ที่สอดคล้องการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุจึงมีความสำคัญเป็นอย่างมากสาหรับการใช้ชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุนอกจากนี้สัดส่วนของผู้สูงอายุไทยที่อาศัยอยู่คนเดียวตามลำพังในครัวเรือนมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นโดยปี พ.ศ. 2537 มีผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียวร้อยละ 3.6 ปี พ.ศ. 2545 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 6.3 และในปี พ.ศ. 2550 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 7.7 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2551 :14) รวมถึงผู้สูงอายุที่อาศัยร่วมกับบุคคลอื่นในครอบครัวแต่ต้องอยู่เพียงลำพังในบ้านตอนกลางวันมีแนวโน้มสูงขึ้นจากการที่บุคคลในครอบครัวต้องออกไปทำงานในเวลากลางวันทำให้ต้องพึ่งพาตนเองมากขึ้นในชีวิตประจำวันรูปแบบการพัฒนาที่เหมาะสมจึงมีส่วนช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุจากการศึกษาซึ่งจากการศึกษาพบว่ารูปแบบที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมอาจเป็นสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุในผู้สูงอายุและนำไปสู่ภาวะทุพพลภาพในที่สุดได้ และส่งผลต่อเนื่องกับปัญหาด้านเศรษฐกิจจะรุนแรงขึ้นเพราะมีค่าใช้จ่ายในการรักษาและต้องการผู้ดูแล (สุทธิชัยจิตะพันธ์กุลและคณะ, 2545: 2-21) มากกว่าครึ่งหนึ่งของผู้สูงอายุที่หกล้มนั้นเกิดขึ้นภายในตัวบ้าน (สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2551: 27) ภายใต้ข้อเท็จจริงที่โครงสร้างประชากรของประเทศไทยกำลังเปลี่ยนแปลง มีสัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วการยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุจำเป็นต้องสอดคล้องกับความต้องการจำเป็นของผู้สูงอายุ โดยต้องทำความเข้าใจในทุกมิติ ได้แก่ด้านสุขภาพ ด้านจิตใจ และด้านสัมพันธภาพทางสังคมจึงเป็นสิ่งจำเป็น และหากมองถึงแนวโน้มเรื่องการเพิ่มประชากร ทั้งจำนวนและสัดส่วนผู้สูงอายุในสังคมไทย อันเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่นเดียวกับอีกหลายประเทศที่มีระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมที่ดีขึ้นตามลำดับ แนวคิดสำคัญจึงไม่ได้อยู่ที่การพยายามจัดให้มีการสังคมสงเคราะห์ หรือการบริการผู้สูงอายุ เพราะนั่นเป็นการมองว่า ผู้สูงอายุ คือภาระของสังคม (Liability) ที่ต้องเข้าไปอุ้มชูดูแล หากแต่ต้องทำให้ผู้สูงอายุเป็นประชากรที่เป็นพลังการพัฒนา (Assets for Development)
พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ 2542 กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกประเภท มีอำนาจหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตน รวมทั้งสิ้นอย่างน้อย 30 ด้าน หนึ่งในจำนวนนั้น คือการสังคมสงเคราะห์และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาสองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นกลไกพัฒนาประเทศ ที่มีความสำคัญมากขึ้นตามลำดับ ทั้งการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งการสร้างสังคมผู้สูงอายที่มีคุณภาพโดยปัจจุบันผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบางรัก อำเภอเมือง จังหวัดตรัง มีจำนวนทั้งสิ้น 643 คน ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลบางรัก ได้ดำเนินกิจกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุมาอย่างต่อเนื่อง แต่อย่างไรก็ตาม ในระยะที่ผ่านมาการกำหนดแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมต่าง ๆ ยังขาดการรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำให้การดำเนินการดังกล่าวอาจยังไม่ตอบสนองความต้องการจำเป็นของผู้สูงอายุอย่างแท้จริง ดังนั้นการประเมินความต้องการจำเป็น การยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุจะทำให้ องค์การบริหารส่วนตำบลบางรักสามารถกำหนดแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมได้อย่างสอดคล้องกับความต้องการจำเป็นของผู้สูงอายุ และเป็นประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุในฐานะที่เป็นพลังการพัฒนาของสังคมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลบางรัก ได้ร่วมกันกำหนดแนวทาง/วิธีการในการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิตใจ สัมพันธภาพทางสังคม และสิ่งแวดล้อม
  2. 2.เพื่อนำผลการประเมินข้อมูลความต้องการจำเป็นเสนอแนะเชิงพัฒนาคุณภาพชีวิต ของผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบางรัก อำเภอเมือง จังหวัดตรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 643
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลบางรัก ได้ร่วมกันกำหนดแนวทาง/วิธีการในการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิตใจ สัมพันธภาพทางสังคม และสิ่งแวดล้อม
    2.เกิดผลการประเมินข้อมูลความต้องการจำเป็นเสนอแนะเชิงพัฒนาคุณภาพชีวิต ของผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบางรัก อำเภอเมือง จังหวัดตรัง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลบางรัก ได้ร่วมกันกำหนดแนวทาง/วิธีการในการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิตใจ สัมพันธภาพทางสังคม และสิ่งแวดล้อม
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 2.เพื่อนำผลการประเมินข้อมูลความต้องการจำเป็นเสนอแนะเชิงพัฒนาคุณภาพชีวิต ของผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบางรัก อำเภอเมือง จังหวัดตรัง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 643
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 643
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลบางรัก ได้ร่วมกันกำหนดแนวทาง/วิธีการในการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิตใจ สัมพันธภาพทางสังคม และสิ่งแวดล้อม  (2) 2.เพื่อนำผลการประเมินข้อมูลความต้องการจำเป็นเสนอแนะเชิงพัฒนาคุณภาพชีวิต ของผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบางรัก อำเภอเมือง จังหวัดตรัง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการประเมินความต้องการจำเป็นในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลบางรัก จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 61-L1499-2-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสิริรสกิ้มเฉี้ยง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด