กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ส่งเสริมการนวดและแช่เท้าด้วยสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ปี 2561 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
กลุ่ม อสม.ชุมชนหลังสโมสรเก่า

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ส่งเสริมการนวดและแช่เท้าด้วยสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L6895-02-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มกราคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ส่งเสริมการนวดและแช่เท้าด้วยสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ส่งเสริมการนวดและแช่เท้าด้วยสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ส่งเสริมการนวดและแช่เท้าด้วยสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L6895-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มกราคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพ เป็นมิติหนึ่งทางสุขภาพที่มีความสำคัญมากที่จะช่วยให้เราดำรงชีวิตอยู่อย่างปกติสุข ในการส่งเสริมสุขภาพจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของมิติสุขภาพ เข้าใจหลักและวิธีปฏิบัติในการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติในการส่งเสริมสุขภาพได้อย่างถูกต้อง การที่ประชาชนจะหันมาใส่ใจดูแลสุขภาพของตนเองนั้นจะเกิดขึ้นต่อเมื่อมีความเจ็บป่วยเกิดขึ้นกับตนเองแล้วเท่านั้น ซึ่งการปฏิบัติตัวแบบนี้เป็นการรักษาตนเองที่ปลายเหตุไม่มีทางที่จะใช้ชีวิตโดยปราศจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆได้ การจัดการกับปัญหาด้านสุขภาพที่ต้นเหตุของปัญหาต่างหากที่จะสามารถรักษาร่างกายของมนุษย์ให้ดำรงชีวิตอยู่แบบปราศจากโรคภัยการหันกลับมาสนใจการใช้ชีวิตร่วมกับธรรมชาติ การพึ่งพาธรรมชาติ จะช่วยเพิ่มความสมดุลให้กับชีวิตมนุษย์ การนำเอาองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือกรวมถึงการนำเอาธรรมชาติรอบตัวมาใช้เพื่อส่งเสริมสุขภาพ เช่นการรักษาโรคด้วยสมุนไพร การนวด อบ และประคบ แช่ด้วยสมุนไพร การรับประทานอาหารตามหลักธรรมชาติบำบัด เป็นต้น จะเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลรักษาสุขภาพเองได้ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มทางเลือกในการรักษาสุขภาพของประชาชน
การส่งเสริมสุขภาพตามหลักแพทย์แผนไทย เกี่ยวข้องกับการไหลเวียนที่ดีของกระแสเลือด น้ำเหลืองและกระแสประสาท ร่างกายของเรามีเครือข่ายการไหลเวียนที่ซับซ้อนและละเอียดอ่อนทุกส่วนเชื่อมโยงประสานงานกันโดยเฉพาะเท้าเป็นช่องทางไหลเวียนขนาดเล็กเมื่อเทียบกับร่างกายโอกาสที่จะอุดตันจากของเสียต่างๆจึงเกิดขึ้นได้ง่าย หากไม่ขยับขยายช่องทางที่อุดตันก็จะส่งผลกระทบต่ออวัยวะต่างๆเป็นลำดับต่อเนื่องกันไปจนส่งผลเสียต่อสุขภาพได้ฝ่าเท้าคนเรามีเส้นโลหิตกระจายกันมากมายการนวดเท้าและการแช่เท้าในน้ำร้อน น้ำสมุนไพรเป็นวิธีการหนึ่งในการช่วยส่งเสริมสุขภาพ โดยกระตุ้นการไหลเวียนเลือด น้ำเหลือง และระบบภูมิคุ้มกันช่วยล้างพิษและกำจัดของเสียช่วยทำให้การทำงานของร่างกายทั้งหมดเกิดความสมดุลอีกทั้งช่วยส่งผลดีต่อสุขภาพจิต คือ ลดภาวะเครียดและทำให้เกิดการผ่อนคลาย ดังนั้นทางกลุ่ม อสม.ชุมชนหลังสโมสรเก่า จึงได้จัดทำโครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ส่งเสริมการนวดและแช่เท้าด้วยสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ปี 2561ขึ้นเนื่องจากเล็งเห็นความสำคัญการดูแลเท้า ซึ่งเป็นอวัยวะหนึ่งที่มีความสำคัญเป็นการกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด น้ำเหลืองของร่างกายเป็นการสร้างสมดุลของร่างกาย อีกทั้งประชาชนในชุมชนได้เรียนรู้ เรื่องการนำเอาสมุนไพรรอบตัวมาใช้ ในการส่งเสริมสุขภาพ และสามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลสุขภาพเองได้ระดับหนึ่ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง สามารถพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพ ด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
  2. เพื่อปรับสมดุลของร่างกาย โดยการกระตุ้นการทำงานของระบบประสาทและการไหลเวียนเลือดของร่างกาย ขจัดความเมื่อยตึงของกล้ามเนื้อและช่วยผ่อนคลายความเครียดได้ในระดับหนึ่ง
  3. เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่น เป็นการลดการใช้ยาแผนปัจจุบัน อีกทั้งช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองสามารถพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพ ด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
  2. ประชาชนที่เข้ารับการอบรมมีความเมื่อยตึงของกล้ามเนื้อลดลง และรู้สึกผ่อนคลายความเครียดได้ ในระดับหนึ่ง
  3. ประชาชนที่เข้ารับการอบรมมีการนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 17 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน
  • พิธีเปิด
  • บรรยายให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย (สมุนไพรประจำบ้าน)  การส่งเสริมสุขภาพด้วยหลักแพทย์แผนไทย (อาหารตามธาตุเจ้าเรือน)
  • แบ่งกลุ่มเข้าฐานการเรียนรู้ พร้อมฝึกปฏิบัติ ฐานการดูแลเท้า โดยการแช่เท้าสมุนไพร  ฐานการดูแลเท้า โดยการนวดกดจุด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จัดอบรมให้ความรู้และฝึกทักษะแก่ประชาชนทั่วไปในชุมชน จำนวน 60  เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม  2561 ณ ชุมชนหลังสโมสรเก่า ซึ่งมีผู้เข้ารับการอบรม  จำนวน 73 คน  ในเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย (สมุนไพรประจำบ้าน)  การส่งเสริมสุขภาพด้วยหลักแพทย์แผนไทย (อาหารตามธาตุเจ้าเรือน) แบ่งกลุ่มเข้าฐานการเรียนรู้ พร้อมฝึกปฏิบัติ ฐานการดูแลเท้า โดยการแช่เท้าสมุนไพร  ฐานการดูแลเท้า โดยการนวดกดจุด  โดย  วิทยากรจากงานแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลกันตัง
  2. ประเมินความพึงพอใจการดำเนินโครงการต่อผู้เข้ารับการอบรม  ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน  54 ชุด  สรุปผลการประเมินความพึงพอใจในแต่ละด้านได้ดังนี้
    2.1 ด้านการฟังบรรยาย และวิทยากรผู้บรรยาย  พบว่า ร้อยละ 86.8 มีความพึงพอใจมาก 2.2 ด้านกิจกรรม/การเรียนรู้ พบว่า ร้อยละ 88.4 มีความพึงพอใจมาก 2.3 ด้านวิทยากร  และสื่อที่ใช้  พบว่า ร้อยละ 87.8 มีความพึงพอใจมาก 2.4 ด้านเวลา  พบว่า ร้อยละ 88.2 มีความพึงพอใจมาก 2.5 ด้านสถานที่  พบว่า ร้อยละ 87.6 มีความพึงพอใจมาก จาการดำเนินกิจกรรมทำให้ประชาชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย มีการนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเอง

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดอบรมให้ความรู้และฝึกทักษะแก่ประชาชนทั่วไปในชุมชน จำนวน 60 เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2561 ณ ชุมชนหลังสโมสรเก่า ซึ่งมีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 73 คน ในเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย (สมุนไพรประจำบ้าน) การส่งเสริมสุขภาพด้วยหลักแพทย์แผนไทย (อาหารตามธาตุเจ้าเรือน) แบ่งกลุ่มเข้าฐานการเรียนรู้ พร้อมฝึกปฏิบัติ ฐานการดูแลเท้า โดยการแช่เท้าสมุนไพร ฐานการดูแลเท้า โดยการนวดกดจุด โดย วิทยากรจากงานแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลกันตัง
  2. ประเมินความพึงพอใจการดำเนินโครงการต่อผู้เข้ารับการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 54 ชุด สรุปผลการประเมินความพึงพอใจในแต่ละด้านได้ดังนี้
    2.1 ด้านการฟังบรรยาย และวิทยากรผู้บรรยาย พบว่า ร้อยละ 86.8 มีความพึงพอใจมาก 2.2 ด้านกิจกรรม/การเรียนรู้ พบว่า ร้อยละ 88.4 มีความพึงพอใจมาก 2.3 ด้านวิทยากร และสื่อที่ใช้ พบว่า ร้อยละ 87.8 มีความพึงพอใจมาก 2.4 ด้านเวลา พบว่า ร้อยละ 88.2 มีความพึงพอใจมาก 2.5 ด้านสถานที่ พบว่า ร้อยละ 87.6 มีความพึงพอใจมาก จาการดำเนินกิจกรรมทำให้ประชาชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย มีการนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเอง
  3. สรุปค่าใช้จ่ายการดำเนินกิจกรรม/โครงการฯ จำนวน 18,321 บาท ดังนี้
    • ค่าสมนาคุณวิทยากร เป็นเงิน 5,400 บาท
    • ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม  เป็นเงิน 3,600 บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน เป็นเงิน 4,200 บาท
    • ค่าป้ายโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน 300 บาท
    • ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ความรู้ 1 ผืน เป็นเงิน 300 บาท
    • ค่าเอกสารประกอบการอบรม/แบบประเมิน เป็นเงิน 628 บาท
    • ค่าวัสดุอุปกรณ์/อื่นๆที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 2,393 บาท
    • ค่าเช่าเต็นท์/เก้าอี้ เป็นเงิน 1,500 บาท หมายเหตุ : ทางกลุ่ม อสม.ชุมชนหลังสโมสรเก่า ไม่ขอเบิกจ่ายเงินส่วนเกินจำนวน 21 บาท ขอเบิกจ่ายเพียง 18,300 บาทเท่านั้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง สามารถพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพ ด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม
0.00

 

2 เพื่อปรับสมดุลของร่างกาย โดยการกระตุ้นการทำงานของระบบประสาทและการไหลเวียนเลือดของร่างกาย ขจัดความเมื่อยตึงของกล้ามเนื้อและช่วยผ่อนคลายความเครียดได้ในระดับหนึ่ง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่น เป็นการลดการใช้ยาแผนปัจจุบัน อีกทั้งช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง สามารถพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพ ด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย  (2) เพื่อปรับสมดุลของร่างกาย โดยการกระตุ้นการทำงานของระบบประสาทและการไหลเวียนเลือดของร่างกาย ขจัดความเมื่อยตึงของกล้ามเนื้อและช่วยผ่อนคลายความเครียดได้ในระดับหนึ่ง (3) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่น เป็นการลดการใช้ยาแผนปัจจุบัน  อีกทั้งช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ส่งเสริมการนวดและแช่เท้าด้วยสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ปี 2561 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L6895-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กลุ่ม อสม.ชุมชนหลังสโมสรเก่า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด