กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง


“ โครงการเสริมสร้างสุขภาพ “dance your fat off at heurea” ”

ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ประธานชมรมส่งเสริมการออกกำลังกาย รพ.สต.บ้านหูแร่

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างสุขภาพ “dance your fat off at heurea”

ที่อยู่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3360-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มิถุนายน 2561 ถึง 20 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างสุขภาพ “dance your fat off at heurea” จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างสุขภาพ “dance your fat off at heurea”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างสุขภาพ “dance your fat off at heurea” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3360-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มิถุนายน 2561 - 20 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการคัดกรองภาวะสุขภาพโรคเรื้อรังความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ในกลุ่มอายุ35 ปี ขึ้นไป ไม่รวมผู้ป่วย พบว่าเป้าหมายคัดกรองความดันโลหิตสูง จำนวน 968 คน เข้าถึงการคัดกรอง ร้อยละ 89.88ประเมินผลพบเสี่ยงความดันโลหิตสูง ร้อยละ 45.74 และการคัดกรองโรคเบาหวานที่อายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน1,136 คนเข้าถึงการคัดกรอง ร้อยละ 90.93พบเสี่ยงเบาหวาน ร้อยละ 23.25 ดังนั้น เพื่อเป็นการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่จึงได้คืนข้อมูลสู่ชุมชนโดยอาศัยเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ในการส่งเสริมการเข้าถึงการคัดกรองการกระจายข่าวสารสู่กลุ่มเป้าหมายต่างๆ

ชมรมส่งเสริมการออกกำลังกายร่วมกับชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ เมื่อได้รับทราบข้อมูลกลุ่มเสี่ยงดังกล่าว เพื่อเป็นการป้องกันและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงที่จะพัฒนาเป็นกลุ่มป่วยรายใหม่ในพื้นที่ จึงได้ร่วมกันคิดและเขียนโครงการนี้ขึ้นเพื่อมุ่งส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน สร้างปัจจัยเอื้อต่อการส่งเสริมการจัดการตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส สร้างกิจกรรมผ่อนคลาย กิจกรรมการเข้าจังหวะเพื่อลดความตึงเครียดจากการทำงานหรือจากวิถีชิวิตของสังคมยุคไอทีที่เร่งรีบจนละเลยการออกกำลังกายโดยเฉพาะกลุ่มที่มีภาวะเสี่ยงที่มีอยู่ในชุมชน เพื่อพิชิตโรคอ้วน ภาวะดัชนีมวลกายหรือรอบพุงที่เกิน ซึ่งล้วนเป็นปัจจัยที่นำไปสู่การเป็นโรคเรื้อรัง ภาวะไขมันผิดปกติ โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือดต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทั่วไป มีสุขภาพแข็งแรงโดยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
  2. เพื่อช่วยกระตุ้นการสร้างระบบภูมิร่างกายให้แข็งแรง
  3. เพื่อสร้างแรงกระตุ้นในการส่งเสริมสุขภาพ แก่ชุมชนให้ยั่งยืนต่อไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เกิดกระแสการออกจากบ้านของคนทุกกลุ่มวัยหันมาออกกำลังกายเพื่อสุขภาพให้ร่างกายแข็งแรง
    2. สามารถสร้างแรงบันดาลใจให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของคนในชุมชน มีต้นแบบคนรักษ์สุขภาพเพิ่มขึ้นในชุมชน
    3. มีเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอย่างเหมาะสม เป็นการสร้างเครือข่ายให้เกิดความรู้ ความเข้าใจการดูแลรักษาสุขภาพด้วยตัวเอง
    4. มีความรู้ที่ถูกต้องเรื่องโภชนาการและการออกกำลังกาย

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทั่วไป มีสุขภาพแข็งแรงโดยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อช่วยกระตุ้นการสร้างระบบภูมิร่างกายให้แข็งแรง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อสร้างแรงกระตุ้นในการส่งเสริมสุขภาพ แก่ชุมชนให้ยั่งยืนต่อไป
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทั่วไป มีสุขภาพแข็งแรงโดยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ (2) เพื่อช่วยกระตุ้นการสร้างระบบภูมิร่างกายให้แข็งแรง (3) เพื่อสร้างแรงกระตุ้นในการส่งเสริมสุขภาพ แก่ชุมชนให้ยั่งยืนต่อไป

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเสริมสร้างสุขภาพ “dance your fat off at heurea” จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 61-L3360-2-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ประธานชมรมส่งเสริมการออกกำลังกาย รพ.สต.บ้านหูแร่ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด