กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการชุมชนโรงพยาบาลกันตัง ส่งเสริมสุขภาพตามหลักแพทย์แผนไทย ด้วยการนวดและแช่เท้าน้ำสมุนไพร ปี 2561 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
กลุ่ม อสม.ชุมชนโรงพยาบาลกันตัง

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนโรงพยาบาลกันตัง ส่งเสริมสุขภาพตามหลักแพทย์แผนไทย ด้วยการนวดและแช่เท้าน้ำสมุนไพร ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L6895-02-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนโรงพยาบาลกันตัง ส่งเสริมสุขภาพตามหลักแพทย์แผนไทย ด้วยการนวดและแช่เท้าน้ำสมุนไพร ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนโรงพยาบาลกันตัง ส่งเสริมสุขภาพตามหลักแพทย์แผนไทย ด้วยการนวดและแช่เท้าน้ำสมุนไพร ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนโรงพยาบาลกันตัง ส่งเสริมสุขภาพตามหลักแพทย์แผนไทย ด้วยการนวดและแช่เท้าน้ำสมุนไพร ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L6895-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพ เป็นมิติหนึ่งทางสุขภาพที่มีความสำคัญมากที่จะช่วยให้เราดำรงชีวิตอยู่อย่างปกติสุข ในการส่งเสริมสุขภาพจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของมิติสุขภาพ เข้าใจหลักและวิธีปฏิบัติในการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติในการส่งเสริมสุขภาพได้อย่างถูกต้อง การที่ประชาชนจะหันมาใส่ใจดูแลสุขภาพของตนเองนั้นจะเกิดขึ้นต่อเมื่อมีความเจ็บป่วยเกิดขึ้นกับตนเองแล้วเท่านั้น ซึ่งการปฏิบัติตัวแบบนี้เป็นการรักษาตนเองที่ปลายเหตุไม่มีทางที่จะใช้ชีวิตโดยปราศจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆได้ การจัดการกับปัญหาด้านสุขภาพที่ต้นเหตุของปัญหาต่างหากที่จะสามารถรักษาร่างกายของมนุษย์ให้ดำรงชีวิตอยู่แบบปราศจากโรคภัยการหันกลับมาสนใจการใช้ชีวิตร่วมกับธรรมชาติ การพึ่งพาธรรมชาติ จะช่วยเพิ่มความสมดุลให้กับชีวิตมนุษย์ การนำเอาองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือกรวมถึงการนำเอาธรรมชาติรอบตัวมาใช้เพื่อส่งเสริมสุขภาพ เช่นการรักษาโรคด้วยสมุนไพร การนวด อบ และประคบ แช่ด้วยสมุนไพร การรับประทานอาหารตามหลักธรรมชาติบำบัด เป็นต้น จะเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลรักษาสุขภาพเองได้ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มทางเลือกในการรักษาสุขภาพของประชาชน
การส่งเสริมสุขภาพตามหลักแพทย์แผนไทย เกี่ยวข้องกับการไหลเวียนที่ดีของกระแสเลือด น้ำเหลืองและกระแสประสาท ร่างกายของเรามีเครือข่ายการไหลเวียนที่ซับซ้อนและละเอียดอ่อนทุกส่วนเชื่อมโยงประสานงานกันโดยเฉพาะเท้าเป็นช่องทางไหลเวียนขนาดเล็กเมื่อเทียบกับร่างกายโอกาสที่จะอุดตันจากของเสียต่างๆจึงเกิดขึ้นได้ง่าย หากไม่ขยับขยายช่องทางที่อุดตันก็จะส่งผลกระทบต่ออวัยวะต่างๆเป็นลำดับต่อเนื่องกันไปจนส่งผลเสียต่อสุขภาพได้ฝ่าเท้าคนเรามีเส้นโลหิตกระจายกันมากมายการนวดเท้าและการแช่เท้าในน้ำร้อน น้ำสมุนไพรเป็นวิธีการหนึ่งในการช่วยส่งเสริมสุขภาพ โดยกระตุ้นการไหลเวียนเลือด น้ำเหลือง และระบบภูมิคุ้มกันช่วยล้างพิษและกำจัดของเสียช่วยทำให้การทำงานของร่างกายทั้งหมดเกิดความสมดุลอีกทั้งช่วยส่งผลดีต่อสุขภาพจิต คือ ลดภาวะเครียดและทำให้เกิดการผ่อนคลาย กลุ่ม อสม.ชุมชนโรงพยาบาลกันตัง เห็นความสำคัญการส่งเสริมสุขภาพด้วยภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยด้วยการนวดเท้าและแช่เท้าด้วยน้ำสมุนไพร เป็นการนำเอาธรรมชาติรอบตัวมาใช้เพื่อส่งเสริมสุขภาพประชาชนในชุมชนให้สามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลสุขภาพเองได้อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มทางเลือกในการรักษาสุขภาพของประชาชนในการจัดการสุขภาพตนเอง ได้อย่างเหมาะสมในระดับหนึ่งจึงได้จัดทำโครงการชุมชนโรงพยาบาลกันตังส่งเสริมสุขภาพตามหลักแพทย์แผนไทยด้วยการนวดและแช่เท้าน้ำสมุนไพร ปี 2561ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง สามารถพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพ ด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
  2. เพื่อปรับสมดุลของร่างกาย โดยการกระตุ้นการทำงานของระบบประสาทและการไหลเวียนเลือดของร่างกาย ขจัดความเมื่อยตึงของกล้ามเนื้อและช่วยผ่อนคลายความเครียดได้ในระดับหนึ่ง
  3. เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่น เป็นการลดการใช้ยาแผนปัจจุบัน อีกทั้งช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองสามารถพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพ ด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
  2. ประชาชนที่เข้ารับการอบรมมีความเมื่อยตึงของกล้ามเนื้อลดลง และรู้สึกผ่อนคลายความเครียดได้ในระดับหนึ่ง
  3. ประชาชนที่เข้ารับการอบรมมีการนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 10 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน
  • พิธีเปิด
  • บรรยายให้ความรู้ การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย (สมุนไพรประจำบ้าน) การส่งเสริมสุขภาพด้วยหลักแพทย์แผนไทย (อาหารตามธาตุเจ้าเรือน)
  • แบ่งกลุ่มเข้าฐานการเรียนรู้ พร้อมฝึกปฏิบัติ ฐานการดูแลเท้า โดยการแช่เท้าสมุนไพร ฐานการดูแลเท้า โดยการนวดกดจุด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จัดอบรมให้ความรู้และฝึกทักษะแก่ผู้สูงอายุในชุมชน  จำนวน  50  เมื่อวันที่  10  กรกฎาคม 2561 ณ ที่ทำการชุมชนโรงพยาบาลกันตัง  ซึ่งมีผู้เข้ารับการอบรม  จำนวน 50 คน  ในเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย (สมุนไพรประจำบ้าน)การส่งเสริมสุขภาพด้วยหลักแพทย์แผนไทย (อาหารตามธาตุเจ้าเรือน)แบ่งกลุ่มเข้าฐานการเรียนรู้ พร้อมฝึกปฏิบัติฐานการดูแลเท้า โดยการแช่เท้าสมุนไพรฐานการดูแลเท้า โดยการนวดกดจุดโดย  วิทยากรจากงานแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลกันตัง
  2. ประเมินความพึงพอใจการดำเนินโครงการต่อผู้เข้ารับการอบรม  ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน  45 ชุด  สรุปผลการประเมินความพึงพอใจในแต่ละด้านได้ดังนี้ 2.1 ด้านการฟังบรรยาย และวิทยากรผู้บรรยาย  พบว่า ร้อยละ 87.6 มีความพึงพอใจมาก 2.2 ด้านกิจกรรม/การเรียนรู้ พบว่า ร้อยละ 83.4 มีความพึงพอใจมาก 2.3 ด้านวิทยากร และสื่อที่ใช้  พบว่า  ร้อยละ 84.8 มีความพึงพอใจมาก 2.4 ด้านเวลา  พบว่า ร้อยละ 95.2 มีความพึงพอใจมากที่สุด 2.5 ด้านสถานที่  พบว่า ร้อยละ 82.6  มีความพึงพอใจมาก ความพึงพอใจในภาพรวมของการดำเนินโครงการ  ร้อยละ 86.8 มีความพึงพอใจมาก

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง สามารถพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพ ด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม
0.00

 

2 เพื่อปรับสมดุลของร่างกาย โดยการกระตุ้นการทำงานของระบบประสาทและการไหลเวียนเลือดของร่างกาย ขจัดความเมื่อยตึงของกล้ามเนื้อและช่วยผ่อนคลายความเครียดได้ในระดับหนึ่ง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่น เป็นการลดการใช้ยาแผนปัจจุบัน อีกทั้งช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง สามารถพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพ ด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย  (2) เพื่อปรับสมดุลของร่างกาย โดยการกระตุ้นการทำงานของระบบประสาทและการไหลเวียนเลือดของร่างกาย  ขจัดความเมื่อยตึงของกล้ามเนื้อและช่วยผ่อนคลายความเครียดได้ในระดับหนึ่ง (3) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่น เป็นการลดการใช้ยาแผนปัจจุบัน  อีกทั้งช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนโรงพยาบาลกันตัง ส่งเสริมสุขภาพตามหลักแพทย์แผนไทย ด้วยการนวดและแช่เท้าน้ำสมุนไพร ปี 2561 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L6895-02-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กลุ่ม อสม.ชุมชนโรงพยาบาลกันตัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด