กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการโรงเรียนปลอดโฟม โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางบุตรธิกรณ์ จุลพล ผู้รับผิดชอบโครงการ อย.น้อยโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา

ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนปลอดโฟม โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 - L7452 – 2 – 30 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียนปลอดโฟม โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนปลอดโฟม โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงเรียนปลอดโฟม โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61 - L7452 – 2 – 30 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 87,450.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในยุคสมัยที่คนเราเร่งรีบ รักความสะดวกสบาย หลายคนคงเคยชินกับการรับประทานอาหารกล่อง อาหารสำเร็จรูป เพราะสะดวก รวดเร็ว ประหยัด หาซื้อได้ง่าย โดยลืมคำนึงถึงสุขภาพ และด้วยสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันที่ สินค้าอุปโภคบริโภคมีราคาแพงขึ้น ทำให้พ่อค้าแม่ขายต้องปรับตัวหาวิถีทางที่จะลดต้นทุน เพื่อให้ได้กำไรที่มากขึ้น อีกทั้งคนส่วนใหญ่ เน้น “อิ่ม-ถูก-เร็ว” ส่งผลให้อาหารประเภทข้าวกล่องแกงถุง กลายเป็นตัวเลือกอันดับต้นๆที่ผู้คนให้ ความสนใจในชีวิตประจำวัน โดยละเลยอันตรายของสุขภาพที่แฝงมากับวัสดุที่ใช้บรรจุอาหารและความสะอาดของ อาหาร โฟมเป็นผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่งที่นิยมนำมาใช้บรรจุอาหารผลิตมาจากวัสดุพอลิเมอร์ชนิดพอลิสไตรีน(polystyrene) เมื่อนำมาใช้บรรจุอาหารร้อนและอาหารทอด น้ำมันจากอาหารจะเกิดปฏิกิริยากับโฟม ทำให้เกิดสารอันตรายปะปนออกมากับอาหาร สารเหล่านี้ ได้แก่ สารสไตรีน (styrene) และสารเบนซิน (benzene) และจากประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 275 (พ.ศ. 2548) เรื่อง กำหนดคุณภาพมาตรฐานของภาชนะบรรจุที่ทำจากพลาสติก ซึ่งได้กำหนดปริมาณ สารสไตรีนในภาชนะบรรจุอาหาร โดยให้มีได้ไม่เกิน 5,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (กรณีใช้งานที่อุณหภูมิสูงกว่า 100 องศาเซลเซียส ปริมาณสารสไตรีนต้องไม่เกินเกิน 1,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) มีการจัดทำโครงการรณรงค์ ลด ละ เลิกการใช้กล่องโฟมบรรจุอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย แต่ก็ยังไม่ได้ผลมากนัก ร้านอาหารตามสั่งทั่วไปก็ยังคงใช้กล่องโฟมในการบรรจุอาหาร เนื่องจากมีน้ำหนักเบา เป็นฉนวนทนความร้อน ใช้ง่ายและราคาถูก ดังนั้นผู้บริโภคต้องตระหนักและดูแลสุขภาพของตนเอง โดยหยุดบริโภคอาหารจากร้านค้าที่ผู้ประกอบการใช้กล่องโฟมบรรจุอาหาร แล้วหันมาบริโภคอาหารที่บรรจุในภาชนะทดแทนโฟมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ซึ่งปัจจุบันได้มีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจากวัสดุธรรมชาติ เช่น ชานอ้อย เยื่อไผ่ มันสำปะหลัง ซึ่งทนต่อความร้อน ใช้กับอาหารที่มีไขมัน และอุ่นอาหารในไมโครเวฟได้ ย่อยสลายเร็วภายใน 45 วันก็ย่อยสลายหมดแล้ว แตกต่างจากโฟมที่ต้องใช้เวลามากกว่า 450 ปี จึงจะย่อยสลายได้หมด หรือใช้ปิ่นโตใส่อาหาร ซึ่งอาจไม่สะดวกในการพกพาแต่สามารถล้างทำความสะอาดแล้วนำกลับมาใช้ซ้ำได้ จากการสำรวจปริมาณขยะตั้งแต่ปี 2552-2556 ของกรมควบคุมมลพิษ พบว่า ขยะประเภทโฟมมีปริมาณเพิ่ม ขี้นอย่างต่อเนื่อง จาก 34 ล้านใบ/วัน เป็น 61 ล้านใบ/วัน หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 1 ใบ/คน/วัน โดยเฉพาะในเขตเมืองที่มีประชากรหนาแน่น จะพบว่ามีขยะประเภทโฟมมากกว่าปกติ ซึ่งโฟมเป็นขยะที่มีความคงทน และใช้เวลาในการย่อยสลายประมาณ 450 ปี ซึ่งสร้างปัญหาในการกำจัด เนื่องจากต้องใช้พลังงานต้นทุนการกำจัดสูง เปลืองพื้นที่ฝังกลบ และขบวนการกำจัดโฟม อาจทำให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชน และภาวะโลกร้อนได้อีกทางหนึ่ง จากข้อมูล ร้าน/แผงจำหน่ายอาหารภายในโรงเรียนและรอบๆบริเวณโรงเรียนในโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา จากการสำรวจพบว่า ร้านค้าจำหน่ายอาหารไม่ใช้โฟม 100% แต่ยังพบว่านักเรียนบางส่วนยังใช้โฟม ซึ่งซื้อจากร้านอาหารนอกโรงเรียนมารับประทาน
โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลาเล็งเห็นความสำคัญที่จะจัดการอันตรายจากโฟมที่ใช้บรรจุอาหารในโรงเรียนและบริเวณรอบๆโรงเรียน ในการเลิกใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร และรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร ในโรงเรียนเขตพื้นที่บริการของเทศบาลนครยะลา ให้ได้ในระดับที่น่าพอใจ และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายด้านอาหารปลอดภัยของเทศบาล รัฐ และเป็นประโยชน์แก่ประชาชน ในการลดความเสี่ยงจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย จึงได้จัดทำโครงการฯ นี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อรณรงค์ให้ผู้ประกอบอาหารและผู้บริโภคในโรงเรียน ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหาร
  2. 2.เพื่อให้ผู้ประกอบการค้าอาหารในโรงเรียน และผู้บริโภค ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร
  3. 3.เพื่อให้ผู้ประกอบการค้าอาหารในโรงเรียน เลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหารที่มีความปลอดภัยต่อสุขภาพทดแทนโฟม
  4. 4.เพื่อลดปริมาณขยะจากกล่องโฟมในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดประชุม ชี้แจงเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบและผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 50 คน
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมให้ความรู้ ในกลุ่มเป้าหมาย ผู้ประกอบการค้าอาหาร ร้าน และแผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 50 คน และครู อาจารย์จำนวน 100 คน รวมเป็น 150 คน ระยะเวลาครึ่งวัน
  3. กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้ ในกลุ่มเป้าหมายนักเรียนจำนวน 1,000 คน แบ่งเป็นสองรุ่น ๆ ละครึ่งวัน
  4. กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์
  5. กิจกรรมที่ 5 การประกวดเพลงรณรงค์ ลด ละ เลิก ใช้ ภาชนะโฟม
  6. กิจกรรมที่ 6 การประกวดละครสั้นรณรงค์ ลด ละ เลิก ใช้ภาชนะโฟม
  7. กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมประกวดการจัดป้ายนิเทศให้ความรู้เกี่ยวกับการรณรงค์ ลด ละ เลิก ใช้ภาชนะโฟม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 1,000
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ประกอบอาหารและผู้บริโภคในโรงเรียน ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหาร
  2. ผู้ประกอบการค้าอาหารในโรงเรียน และผู้บริโภค ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร
  3. ผู้ประกอบการค้าอาหารในโรงเรียน เลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหารที่มีความปลอดภัยต่อสุขภาพทดแทนโฟม
  4. ลดปริมาณขยะจากกล่องโฟมในโรงเรียน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อรณรงค์ให้ผู้ประกอบอาหารและผู้บริโภคในโรงเรียน ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหาร
ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 1,150 คน 2.ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหาร
80.00

 

2 2.เพื่อให้ผู้ประกอบการค้าอาหารในโรงเรียน และผู้บริโภค ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้จำหน่ายอาหารและผู้บริโภคในโรงเรียนลดการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร
80.00

 

3 3.เพื่อให้ผู้ประกอบการค้าอาหารในโรงเรียน เลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหารที่มีความปลอดภัยต่อสุขภาพทดแทนโฟม
ตัวชี้วัด : 1.โรงเรียนปลอดโฟม จำนวน 1 โรงเรียน
1.00

 

4 4.เพื่อลดปริมาณขยะจากกล่องโฟมในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 1,000
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อรณรงค์ให้ผู้ประกอบอาหารและผู้บริโภคในโรงเรียน ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหาร (2) 2.เพื่อให้ผู้ประกอบการค้าอาหารในโรงเรียน และผู้บริโภค ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร (3) 3.เพื่อให้ผู้ประกอบการค้าอาหารในโรงเรียน เลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหารที่มีความปลอดภัยต่อสุขภาพทดแทนโฟม (4) 4.เพื่อลดปริมาณขยะจากกล่องโฟมในโรงเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดประชุม ชี้แจงเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบและผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 50 คน (2) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมให้ความรู้ ในกลุ่มเป้าหมาย ผู้ประกอบการค้าอาหาร ร้าน และแผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 50 คน และครู อาจารย์จำนวน 100 คน รวมเป็น 150 คน ระยะเวลาครึ่งวัน (3) กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้ ในกลุ่มเป้าหมายนักเรียนจำนวน 1,000 คน แบ่งเป็นสองรุ่น ๆ ละครึ่งวัน (4) กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ (5) กิจกรรมที่ 5 การประกวดเพลงรณรงค์ ลด ละ เลิก ใช้ ภาชนะโฟม (6) กิจกรรมที่ 6 การประกวดละครสั้นรณรงค์ ลด ละ เลิก ใช้ภาชนะโฟม (7) กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมประกวดการจัดป้ายนิเทศให้ความรู้เกี่ยวกับการรณรงค์ ลด ละ เลิก ใช้ภาชนะโฟม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโรงเรียนปลอดโฟม โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 - L7452 – 2 – 30

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางบุตรธิกรณ์ จุลพล ผู้รับผิดชอบโครงการ อย.น้อยโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด