กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันภัยจากยาสูบของนักเรียนและบุคลากรโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางบุตรธิกรณ์ จุลพล ผู้รับผิดชอบโครงการ อย.น้อยโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันภัยจากยาสูบของนักเรียนและบุคลากรโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 32 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันภัยจากยาสูบของนักเรียนและบุคลากรโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันภัยจากยาสูบของนักเรียนและบุคลากรโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันภัยจากยาสูบของนักเรียนและบุคลากรโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 32 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 122,975.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสูบบุหรี่ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในสังคมไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มวัยรุ่น จากผลการศึกษาวิจัยเมื่อปี พ.ศ.2550 ในวัยรุ่น พบว่ามีปัญหาการสูบบุหรี่ในวัยรุ่นในอัตราที่สูง การสูบบุหรี่ก่อให้เกิดผลเสียหายหลายประการทั้งต่อตัวผู้สูบเองโดยตรงและผู้ที่ได้รับควันบุหรี่ โดยพบว่าบุหรี่มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดโรคต่างๆมากกว่า 25 โรค เช่นโรคมะเร็งปอด โรคหอบหืด เป็นต้น นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจแก่ครอบครัวและสังคม บุหรี่ยังได้ชื่อว่าเป็นทางผ่าน (gateway drug) ของการใช้สารเสพติดตัวอื่นๆด้วย ที่สำคัญฤทธิ์ของบุหรี่ก่อให้เกิดการเสพติด วัยรุ่นที่มีโอกาสทดลองสูบบุหรี่แม้เพียงครั้งหรือสองครั้งจะมีโอกาสกลายเป็นผู้ใหญ่ที่ติดบุหรี่ได้มาก และแม้ว่าวัยรุ่นเหล่านี้จะมีความตั้งใจในการเลิกสูบุหรี่ ก็พบว่ามีเพียงจำนวนเล็กน้อยเท่านั้นที่สามารถเลิกได้สำเร็จ ยิ่งไปกว่านั้นวัยรุ่นที่เริ่มต้นสูบบุหรี่เมื่ออายุน้อยกว่าจะสามารถเลิกสูบบุหรี่ได้ยากกว่าวัยรุ่นที่เริ่มสูบบุหรี่เมื่ออายุมากว่า ดังนั้น การป้องกันมิให้วัยรุ่นได้เริ่มทดลองสูบบุหรี่จึงเป็นสิ่งสำคัญ
จากรายงานข้อมูล HDC (Health Data Center : ระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา ปี 2560 งานการเฝ้าระวัง ในการสำรวจความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ในเขตเทศบาลนครยะลา พบว่าประชาชนไทยอายุ 15-70 ปี จำนวน 35,494 คน พบผู้สูบบุหรี่จำนวน 1,271 คน คิดเป็นร้อยละ 3.58 และนักเรียนในโรงเรียนคณะราษฎร์บำรุง จำนวน 2200 คน พบผู้สูบบุหรี่ 150 คน คิดเป็นร้อยละ 6.82 จะเห็นได้ว่าความชุกของผู้สูบบุหรี่อยู่ในอัตราที่สูง และเป็นสถานการณ์ปัญหาที่ต้องดำเนินการแก้ไข จากปัญหาและความสำคัญดังกล่าว งานอย.น้อยโรงเรียนในนามเครือข่ายชมรม TO BE NUMBER ONE รณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้นเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติในการช่วยเหลือให้นักเรียนโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา ได้รับความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับบุหรี่และมีแนวทางในการดำเนินโครงการในโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนปลอดบุหรี่เพื่อสุขภาวะที่ดีของนักเรียนและสังคมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดอัตราการสูบบุหรี่ของนักเรียนและ บุคลากรที่เป็นนักสูบหน้าเก่าในโรงเรียน
  2. 2. เพื่อลดอัตราการเพิ่มของกลุ่มเสี่ยงหรือนักสูบ หน้าใหม่
  3. 3. เพื่อลดอัตราการสูบของสมาชิกหน้าเก่าใน ครอบครัวของนักเรียนและบุคลากรโรงเรียน
  4. 4. ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่
  5. 5. ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านงบสนับสนุนของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องร่วมกับคณะอาจารย์ เพื่อชี้แจงการจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียนและบุคลากรกับยาสูบโรงเรียนคณะราษฎร์บำรุง จังหวัดยะลาจำนวน 50 คน
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่นักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ที่เป็นนักสูบหน้าเก่า) จำนวน 120 คน และ นักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย(ที่เป็นนักสูบหน้าเก่า) จำนวน 110 คน รวมเป็น 230 คน ระยะเวลา 1 วัน
  3. กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่นักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (กลุ่มเสี่ยงที่จะเป็นนักสูบหน้าใหม่) จำนวน 80 คน นักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย (ที่มีสมาชิกในครอบครัวเป็นนักสูบหน้าเก่า) จำนวน 100 คน รวมเป็น 180 คน ระยะเวลา 1 วัน
  4. กิจกรรมที่ 4 เดินรณรงค์งดสูบบุหรี่โดยนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย 500 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 500
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้เรื่องโทษและอันตรายจากยาสูบ
  2. นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีภูมิป้องกันและทักษะปฏิเสธการเชิญชวนสูบบุหรี่
  3. จำนวนสมาชิกในครอบครัวที่เป็นนักสูบของนักเรียนและบุคลากรโรงเรียนลดลง
  4. ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้และวิธีการที่ได้จากฐานการเรียนรู้มาประยุกต์ใช้กับตนเองเพื่อเลิกบุหรี่
  5. นักสูบในโรงเรียนมีจำนวนลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดอัตราการสูบบุหรี่ของนักเรียนและ บุคลากรที่เป็นนักสูบหน้าเก่าในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ80 2. อัตราการสูบบุหรี่ของนักเรียนและบุคลากรที่เป็นนักสูบหน้าเก่าในโรงเรียนลดลงร้อยละ 30
30.00

 

2 2. เพื่อลดอัตราการเพิ่มของกลุ่มเสี่ยงหรือนักสูบ หน้าใหม่
ตัวชี้วัด : 3. อัตราการเพิ่มของกลุ่มเสี่ยงหรือนักสูบหน้าใหม่น้อยกว่าร้อยละ 20
20.00

 

3 3. เพื่อลดอัตราการสูบของสมาชิกหน้าเก่าใน ครอบครัวของนักเรียนและบุคลากรโรงเรียน
ตัวชี้วัด : 4. อัตราการสูบของสมาชิกในครอบครัวหน้าเก่าของนักเรียน และบุคลากรโรงเรียนลดลงร้อยละ 30
30.00

 

4 4. ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่ร้อยละ 80
80.00

 

5 5. ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านงบสนับสนุนของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา
ตัวชี้วัด : 6. ผู้เข้ารับอบรมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 500
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราการสูบบุหรี่ของนักเรียนและ บุคลากรที่เป็นนักสูบหน้าเก่าในโรงเรียน (2) 2. เพื่อลดอัตราการเพิ่มของกลุ่มเสี่ยงหรือนักสูบ  หน้าใหม่ (3) 3. เพื่อลดอัตราการสูบของสมาชิกหน้าเก่าใน ครอบครัวของนักเรียนและบุคลากรโรงเรียน (4) 4. ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่ (5) 5. ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านงบสนับสนุนของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องร่วมกับคณะอาจารย์ เพื่อชี้แจงการจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียนและบุคลากรกับยาสูบโรงเรียนคณะราษฎร์บำรุง  จังหวัดยะลาจำนวน  50 คน (2) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่นักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ที่เป็นนักสูบหน้าเก่า)  จำนวน 120 คน และ นักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย(ที่เป็นนักสูบหน้าเก่า) จำนวน  110 คน รวมเป็น 230 คน ระยะเวลา 1 วัน (3) กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่นักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (กลุ่มเสี่ยงที่จะเป็นนักสูบหน้าใหม่) จำนวน 80 คน นักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย (ที่มีสมาชิกในครอบครัวเป็นนักสูบหน้าเก่า) จำนวน 100 คน รวมเป็น 180 คน  ระยะเวลา 1 วัน (4) กิจกรรมที่ 4 เดินรณรงค์งดสูบบุหรี่โดยนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย 500  คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันภัยจากยาสูบของนักเรียนและบุคลากรโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 32

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางบุตรธิกรณ์ จุลพล ผู้รับผิดชอบโครงการ อย.น้อยโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด