กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สบสาย


“ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ”

ตำบลสบสาย อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

หัวหน้าโครงการ
นางประภากร ขัดชาและคณะ

ชื่อโครงการ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

ที่อยู่ ตำบลสบสาย อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ จังหวัด แพร่

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ป้องกันภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จังหวัดแพร่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสบสาย อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สบสาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " ป้องกันภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสบสาย อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 กุมภาพันธ์ 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สบสาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปี2560 ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่สามาถควบคุมความดันโลหิตได้ ร้อยละ23.99 และผู้ป่วยเบาหวานที่สามาถควบคุมนำ้ตาลในเลือดได้ ร้อยละ4.42 และไม่มีเครือข่ายเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือด
  2. เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเความดันโลหิตสูงที่ไม่สามาถควบคุมความดันโลหิตได้
  3. เพื่อสร้างแกนนำเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ประชุมเชิงปฏิบัติการกลุ่มป่วยที่ไม่สามารถควบคุมนำ้ตาลและความดันโลหิตได้ให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  2. 2.ประชุมเชิงปฏิบัติการแกนนำเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชนตำบลสบสาย
  3. 3. ติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มป่วย ครั้งที่1
  4. 3. ติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มป่วย ครั้งที่2
  5. 3. ติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มป่วย ครั้งที่ 3

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 12
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยเบาหวานแลความดันโลหิตไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนและมีเครือข่ายเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชนเพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.ประชุมเชิงปฏิบัติการกลุ่มป่วยที่ไม่สามารถควบคุมนำ้ตาลและความดันโลหิตได้ให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจประเมินสุขภาพเบื้องต้น เจาะเลือดตรวจนำ้ตาลให้ความรู้เรื่องโรคเรืัอรังเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เลี่ยงอาหารหวาน มัน เค็ม สาธิตการออกกำลังกาย การป้องกัภาวะแทรกซ้อนแก่กลุ่มป่วย 50คน ค่าอาหารและอาหารว่าง 6000 ค่าวิทยากร 1800 ค่าเอกสารคู่มือ 2500 บาท ค่าชุดอาหารสาธิต 4600 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มป่วยที่ไม่สามารถควบคุมนำ้ตาลและความดันโลหิตเข้าร่วมกิจกรรมครบ50 คนและมีความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมการติดตามทั้ง 3  ครั้ง

 

50 0

2. 2.ประชุมเชิงปฏิบัติการแกนนำเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชนตำบลสบสาย

วันที่ 9 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้เรื่องโรคเรืัอรังเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เลี่ยงอาหารหวาน มัน เค็ม สาธิตการออกกำลังกาย แก่แกนนำโรคไม่ติดต่อ ทบทวนการฝึกการวัดความดันโลหิต  การเจาะเลือดตรวจนำ้ตาลการแปลผลและแนวทางการติดตามผู้ป่วยในชุมชน อาหารว่าง 12x25=300 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดแกนนำโรคไม่ติดต่อหมู่ละ2 คนรวม 12 คนที่มีความรู้และสามารถวัดความดันโลหิต  การเจาะเลือดตรวจนำ้ตาล การแปลผลได้  และรับผิดชอบติดตามผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายคนละ1-2 คน

 

12 0

3. 3. ติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มป่วย ครั้งที่1

วันที่ 29 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มป่วยเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้10  คน ผู้ปวยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้  40 คน แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง  ตรวจประเมินความดันโลหิตและเจาะเลือดตรวจนำ้ตาล และติดตามเพิ่มเติมในชุมชนโดยแกนนำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยเบาหวาน ควบคุมนำตาลได้ตามเกณฑ์ 3 คน(30%)  ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ 15คน(37.50%) โดยทุกคนไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน และเครือข่ายเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชนมีการติดตามผู้ป่วยอย่างสมำ่เสมอ

 

50 0

4. 3. ติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มป่วย ครั้งที่2

วันที่ 26 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มป่วยเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้10  คน ผู้ปวยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้  40 คนแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง  ตรวจประเมินความดันโลหิตและเจาะเลือดตรวจนำ้ตาล ติดตามเพิ่มโดยแกนนำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยเบาหวาน ควบคุมนำตาลได้ตามเกณฑ์ 5 คน(50%)  ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ 25คน(62.50%) โดยทุกคนไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน และเครือข่ายเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชนมีการติดตามผู้ป่วยอย่างสมำ่เสมอ

 

50 0

5. 3. ติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มป่วย ครั้งที่ 3

วันที่ 30 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มป่วยเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้10  คน ผู้ปวยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้  40 คนแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง  ตรวจประเมินความดันโลหิตและเจาะเลือดตรวจนำ้ตาล ติดตามเพิ่มโดยแกนนำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยเบาหวาน ควบคุมนำตาลได้ตามเกณฑ์10 คน(100%)  ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ 32 คน(87.50%) โดยทุกคนไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน และเครือข่ายเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชนมีการติดตามผู้ป่วยอย่างสมำ่เสมอ

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือด
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ตามเกณฑ์
5.00 7.65

ภาพรวมผู้ป่วยเบาหวาน 250 คุมนำ้ตาลได้30 คน=7.65%

2 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเความดันโลหิตสูงที่ไม่สามาถควบคุมความดันโลหิตได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสุงที่สามาถควบคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์
25.00 27.99

ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง743คนควบคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ 208 คน(27.99%) โดยทุกคนไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน และเครือข่ายเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชนมีการติดตามผู้ป่วยอย่างสมำ่เสมอ

3 เพื่อสร้างแกนนำเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนแกนนำเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชน
12.00 12.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 62
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 12
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือด (2) เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเความดันโลหิตสูงที่ไม่สามาถควบคุมความดันโลหิตได้ (3) เพื่อสร้างแกนนำเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชุมเชิงปฏิบัติการกลุ่มป่วยที่ไม่สามารถควบคุมนำ้ตาลและความดันโลหิตได้ให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2) 2.ประชุมเชิงปฏิบัติการแกนนำเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในชุมชนตำบลสบสาย (3) 3. ติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มป่วย ครั้งที่1 (4) 3. ติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มป่วย ครั้งที่2 (5) 3. ติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มป่วย ครั้งที่ 3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ป้องกันภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จังหวัด แพร่

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางประภากร ขัดชาและคณะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด