กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี


“ โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (โรคเรื้อรังเบาหวาน ความดันหลอดเลือดสมอง) ตำบลยาบี ”

ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวแมรี แวฮามะ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (โรคเรื้อรังเบาหวาน ความดันหลอดเลือดสมอง) ตำบลยาบี

ที่อยู่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3070-1-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (โรคเรื้อรังเบาหวาน ความดันหลอดเลือดสมอง) ตำบลยาบี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (โรคเรื้อรังเบาหวาน ความดันหลอดเลือดสมอง) ตำบลยาบี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (โรคเรื้อรังเบาหวาน ความดันหลอดเลือดสมอง) ตำบลยาบี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3070-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาทางสาธารณสุขได้เปลี่ยนแปลงไปตามการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี่ และวิทยาการทางการแพทย์ ทำให้วิถีชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป ปัจจัยดังกล่าวส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของประชากรทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อเพิ่มขึ้น เฉพาะกลุ่มโรคหัวใจ หลอดเลือด ได้แก่โรคหัวใจขาดเลือดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง(กรมการแพทย์,กระทรวงสาธารณสุข,2550) ประเทศไทยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรัง ซึ่งถือว่าเป็นภัยเงียบที่ไม่แสดงอาการแต่ตรวจพบได้ เป็นโรคที่เกิดขึ้นจากพันธุกรรม พฤติกรรมการรับประทานอาหาร การปฏิบัติตนไม่เหมาะสม เช่น ไม่ออกกำลังกาย สูบบุหรี่ ดื่มกาแฟ เป็นต้น พบจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นได้ในทุกชุมชนโดยเฉพาะโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสุขาภาพที่สำคัญในชุมชน จากสถานการณ์ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง พบความชุกเบาหวานในประชากรอายุ15 ปีขึ้นไป ร้อยละ 6.9 และประชากรอายุ 35ปีขึ้นไป ร้อยละ 9.6 และความชุกของโรคความดันในประชากร 35 ปีขึ้นไป ร้อยละ 21.4 ทั้งยังเป็นสาเหตุที่ทำให้ประเทศไทยเสียค่าใช้จ่ายอย่างมหาศาลในการดูแลรักษาและมักเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ตามมาอันได้แก่ โรคหัวใจ ไตวาย ตาบอด หลอดเลือดหัวใจตามมา (แพทย์หญิงสุพัตราและคณะ,2553)

จังหวัดปัตตานีจากการดำเนินงานคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปตั้งแต่ปี 2551-2553 จากผลการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน ร้อยละ 74.29,74.22 และ73.48 ตามลำดับ พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ร้อยละ 5.02, 4.61 และ 7.05 และป่วยด้วยโรคเบาหวาน ร้อยละ 1.54,1.82 และ2.29ต่อแสนประชากร ตามลำดับ จากการคัดกรองความเสี่ยงความดันโลหิตสูงประชากร35 ปีขึ้นไปร้อยละ 70.46 ,71.13 และ73.30 พบ กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงร้อยละ 9.53,10.05และ 11.63 ตามลำดับและพบอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง4.12,4.98 และ5.27 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ ทั้งยังพบว่าอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเพิ่มสูงขึ้น เกือบ 2 เท่าของทุกโรคและเป็นสาเหตุการเสียชีวิตใน10 อันดับแรกของจังหวัดปัตตานี(สถานการณ์โรคติดต่อไม่เรื้อรัง,จังหวัดปัตตานี,2553)

ตำบลยาบี (จากทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี) ปี2560 พบว่าพบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการคัดกรองความเสี่ยงประชากร 35 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 94.70 (พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 95 คน ร้อยละ 9.08 สงสัยป่วย 7 คนร้อยละ 0.60 และมีอัตราป่วยด้วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 6 คน ร้อยละ 0.55พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง372 คน ร้อยละ34.48 กลุ่มสงสัยป่วย 115คน ร้อยละ 10.66 อัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 10 คน ร้อยละ 0.92 จึงได้เห็นถึงความสำคัญในการคัดกรองความสี่ยงด้านสุขภาพที่รวดเร็วและครอบคลุม เพื่อให้ประชาชน 35 ปีขึ้นไปได้รับการดูเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมและสามารถลดโรคลดเสี่ยงโรคเรื้อรังเบาหวาน ความดัน อย่างยั่งยืนต่อไป จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังชุมชนลดโรคลดเสี่ยงเบาหวานความดัน ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่
  2. 2.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยง
  3. 3.เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในการลดโรคลดเสี่ยงเบาหวานความดัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง รุ่นที่ 1 - 4
  2. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีการเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ ร้อยละ 50
  2. มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 20
  3. มีการส่งเสริมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในการลดโรคลดเสี่ยงเบาหวานความดัน ร้อยละ 60

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่
ตัวชี้วัด : มีการเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ ร้อยละ 50
70.00

 

2 2.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 20
30.00

 

3 3.เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในการลดโรคลดเสี่ยงเบาหวานความดัน
ตัวชี้วัด : มีการส่งเสริมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในการลดโรคลดเสี่ยงเบาหวานความดัน ร้อยละ 60
70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ (2) 2.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยง (3) 3.เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในการลดโรคลดเสี่ยงเบาหวานความดัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง รุ่นที่ 1 - 4 (2) กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (โรคเรื้อรังเบาหวาน ความดันหลอดเลือดสมอง) ตำบลยาบี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3070-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวแมรี แวฮามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด