กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งบุหลัง


“ โครงการป้องกันและลดความรุนแรงในครอบครัว ”

ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาครอบครัวตำบลทุ่งบุหลัง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและลดความรุนแรงในครอบครัว

ที่อยู่ ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L9252-2-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มิถุนายน 2562 ถึง 3 กรกฎาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและลดความรุนแรงในครอบครัว จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งบุหลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและลดความรุนแรงในครอบครัว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและลดความรุนแรงในครอบครัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L9252-2-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มิถุนายน 2562 - 3 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งบุหลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ความสำคัญและประเด็นที่เกี่ยวข้อง ปัญหาความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัว เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมเป็นเวลานาน ปัจจุบันสถานการณ์ปัญหาได้ขยายวงกว้าง และมีระดับความรุนแรงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของเด็กและสตรีเป็นอย่างมาก จากข้อมูลขององค์การสหประชาชาติ ระบุว่า ร้อยละ ๓๕ หรือมากกว่า ๑ ใน ๓ ของผู้หญิงทั่วโลก เคยถูกทำร้ายร่างกายและ/หรือถูก ล่วงละเมิดทางเพศ ในปี ๒๕๕๖ พบมีผู้หญิงและเด็กถูกทำร้ายถึงขั้นได้รับบาดเจ็บ ต้องเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล รวม ๓๑,๘๘๖ ราย หรือ ๘๗ คนต่อวัน โดยความรุนแรงเหล่านี้ส่วนใหญ่เกิดขึ้นในพื้นที่ที่เราคิดว่าปลอดภัยที่สุด นั่นคือบ้าน ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสังคมไทยมีหลายรูปแบบทั้งทางร่างกาย ทางจิตใจ ทางวาจา และทางเพศ เช่น การทำร้ายร่างกาย การบังคับจิตใจ การข่มขู่ การใช้วาจาด่าว่าให้เจ็บช้ำน้ำใจ การควบคุมกักขัง การข่มขืนกระทำชำเรา และการกระทำอนาจาร เป็นต้น ซึ่งผู้กระทำส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย และมักเป็นบุคคลใกล้ชิดหรือบุคคลในครอบครัว ส่วนผู้ถูกกระทำเป็นผู้หญิง ผู้สูงอายุ และเด็ก สังคมมองว่าเป็นปัญญาหาความรุนแรงในครอบครัวเป็นเรื่องส่วนตัว แม้แต่ญาติพี่น้องและผู้ใกล้ชิดไม่กล้าเข้าไปช่วยเหลือ ทำให้ผู้หญิงตกอยู่ในภาวะยากลำบากและไม่กล้าบอกเล่าให้ใครฟัง เพราะคิดว่าเป็นเรื่องน่าอับอาย หรือจำต้องยอมถูกกระทำเนื่องจากเป็นห่วงลูก และต้องพึ่งพิงทางเศรษฐกิจจากผู้ชาย สำหรับสาเหตุของการกระทำความรุนแรงเกิดจากหลายปัจจัย ได้แก่ เหล้า สารเสพติด การพนัน ความหึงหวง การสะท้อนภาพความรุนแรงของสื่อต่างๆ และที่สำคัญคือ ค่านิยมดั้งเดิมของสังคมไทยที่เชื่อว่าผู้ชายเป็นผู้นำครอบครัว เป็นเจ้าชีวิตภรรยาและลูก มีสิทธิดุด่าทุบตีทำร้าย หรือบังคับให้มีเพศสัมพันธ์ตามความต้องการ เป็นต้น ปัจจุบันปัญหาความรุนแรงที่เกิดขึ้นกับเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัวได้กลายเป็นปัญหาด้านสิทธิมนุษยชนที่ทุกคนในสังคมจะต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันละแก้ไขปัญหา และไม่ใช่เรื่องส่วนตัวอีกต่อไปแล้ว รัฐบาลได้ออกพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การคุ้มครองแก่ผู้ที่ตกเป็นเหยื่อของการกระทำความรุนแรง และลงโทษ เยียวยา ฟื้นฟู ผู้ถูกกระทำความรุนแรง รวมทั้งส่งเสริมให้สังคมรอบข้างได้มีส่วนร่วมในการป้องกัน แก้ไข และเฝ้าระวังปัญหาร่วมกัน ความคิดริเริ่ม เนื่องจากการจัดโครงการในครั้งนี้ เป็นการจัดโครงการใหม่ที่ป้องกันและลดปัญหาความรุนแรงในครอบครัวซึ่งปัจจุบันปัญหาความรุนแรงในครอบครัวเป็นภัยเงียบที่เป็นภัยต่อสังคมเป็นอย่างมาก ดังนั้นในการจัดโครงการในครั้งนี้เราสามารถช่วยป้องกันและลดปัญหาดังกล่าวได้มากขึ้น และทำให้ครอบครัวได้รับรู้บทบาทของตนเองว่าควรปฏิบัติตนต่อคนในครอบครัวอย่างไรเพราะเรื่องในครอบครัวเป็นเรื่องละเอียดอ่อนเป็นอย่างมาก ซึ่งหลายๆ ครั้งที่เกิดปัญหาคนนอกอาจจะมองเป็นแค่เรื่องภายในครอบครัว คนนอกไม่สามารถไปยุ่งเกี่ยวได้ ดังนั้นเราจึงต้องทำให้คนในชุมชนและสังคมมองมุมใหม่ว่าเรื่องภายในครอบครัวก็จริงแต่เราสามารถให้ความช่วยเหลือและปรึกษาได้ โดยเราจะจัดตั้งเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัว โดยเน้นให้ผู้นำชุมชน มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังในปัญหาดังกล่าวด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่นและพนักงานส่วนตำบลได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐
  2. เพื่อให้ผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เด็ก สตรี สมาชิกในครอบครัวและประชาชนทั่วไป ได้รับรู้ถึงโทษทัณฑ์และความคุ้มครองทางกฎหมายตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐
  3. เพื่อให้สังคมและชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกัน แก้ไขปัญหา และสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมให้ความรู้และกิจกรรมสันทนาการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่นและพนักงานส่วนตำบล และครอบครัวผู้เข้าร่วมโครงการ ได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ 2.ผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เด็ก สตรี สมาชิกในครอบครัวและประชาชนทั่วไป ได้รับรู้ถึงโทษทัณฑ์และความคุ้มครองทางกฎหมายตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐
3.สังคมและชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกัน แก้ไขปัญหา และสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาในพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการป้องกันและลดความรุนแรงในครอบครัว

วันที่ 3 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะกรรมการ/ผู้ประสานงาน ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลทุ่งบุหลัง เพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ ประจำปี 2562 กำหนดการกิจกรรม กำหนดกฎเกณฑ์ในการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ กำหนดและแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ดำเนินโครงการ
  2. ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
  3. ประสานงานในการจัดหาสถานที่ในการจัดกิจกรรม โครงการ จัดหาวิทยากร
  4. จัดการอบรมให้กับกลุ่มเป้าหมาย
  5. สรุปประเด็นทั้งหมดพร้อมทั้งประเมินผลการจัดกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่นและพนักงานส่วนตำบล ผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เด็ก สตรี สมาชิกในครอบครัวและประชาชนทั่วไป ได้รับรู้ถึงโทษทัณฑ์และความคุ้มครองทางกฎหมายตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550/ผู้นำชุมชน ประชาชนในพื้นที่ตำบลทุ่งบุหลังมีส่วนร่วมในการป้องกัน แก้ไขปัญหา และสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาในพื้นที่

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่นและพนักงานส่วนตำบลได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐
ตัวชี้วัด :
0.00 0.00

 

2 เพื่อให้ผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เด็ก สตรี สมาชิกในครอบครัวและประชาชนทั่วไป ได้รับรู้ถึงโทษทัณฑ์และความคุ้มครองทางกฎหมายตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้สังคมและชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกัน แก้ไขปัญหา และสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาในพื้นที่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20 20
กลุ่มวัยทำงาน 20 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่นและพนักงานส่วนตำบลได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ (2) เพื่อให้ผู้นำชุมชน กำนัน  ผู้ใหญ่บ้าน เด็ก สตรี สมาชิกในครอบครัวและประชาชนทั่วไป ได้รับรู้ถึงโทษทัณฑ์และความคุ้มครองทางกฎหมายตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ (3) เพื่อให้สังคมและชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกัน แก้ไขปัญหา และสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมให้ความรู้และกิจกรรมสันทนาการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและลดความรุนแรงในครอบครัว

รหัสโครงการ 62-L9252-2-1 ระยะเวลาโครงการ 28 มิถุนายน 2562 - 3 กรกฎาคม 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการป้องกันและลดความรุนแรงในครอบครัว จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L9252-2-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูนย์พัฒนาครอบครัวตำบลทุ่งบุหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด