กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
รหัสโครงการ 1.2.4
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านลำกะ
วันที่อนุมัติ 25 กันยายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 21,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ รพ.สต.บ้านลำกะ
พี่เลี้ยงโครงการ นางวิภาดา คงเซ็น
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เกษตรกรมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

 

0.00
2 เพื่อให้ผู้บริโภคมีความรู้ในการลดอันตรายจากการรับประทานผักและผลไม้ที่ผ่านการใช้ยาฆ่าแมลง

 

0.00
3 เพื่อให้กลุ่มที่ตรวจพบสารพิษในกระแสเลือดในระดับไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 140 21,800.00 1 21,800.00
6 ม.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 ตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร 140 21,800.00 21,800.00

๑. ประชุมชี้แจงโครงการ แนวทางการดำเนินงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ ๒. จัดทำแผนงานโครงการเพื่อเสนอขอรับงบประมาณสนับสนุน จัดการประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเกษตรทราบเพื่อเตรัยมกลุ่มเป้าหมาย และนัด วัน เวลา และสถานที่ในการตรวจ ๓.ดำเนินการตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเกษตรกร โดยใช้กระดาษทดสอบเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส ครั้งที่ 1
๔.จัดทำบัตรบันทึกผลการตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างพร้อมแจ้งผลเลือดครั้งที่ 1
๕.ให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มไม่ปลอดภัยเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการวิธีการใช้สมุนไพรรางจืดและวิธีการล้างผักผลไม้ให้สะอาด โดยอบรมจำนวน 2 รุ่นๆ ละ 70 คน ๖.ดำเนินการตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเกษตรกรโดยใช้กระดาษทดสอบเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส  ครั้งที่ 2 ตามวัน เวลาที่นัดหมาย  (ระยะห่างจากครั้งที่ 1 เป็นเวลา 3 เดือน) ๗.ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เมื่อสิ้นสุดโครงการ พร้อมรายงานผลการดำเนินงาน ๘.ปรับปรุง พัฒนาจากผลการดำเนินงาน เพื่อใช้ในการจัดทำแผนงาน / โครงการต่อไป

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มเกษตรที่สัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและกลุ่มผู้บริโภค มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และรู้วิธีการล้างผักที่ปลอดภัยก่อนนำไปปรุงอาหารและผลการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดในกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวมีผลอยู่ในระดับปลอดภัยสูงขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ธ.ค. 2562 17:57 น.