กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง


“ ฟันดี ยิ้มสดใส ประจำปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
ศพด.อบต.ตุยง บ้านบางปลาหมอ

ชื่อโครงการ ฟันดี ยิ้มสดใส ประจำปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3065-3-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"ฟันดี ยิ้มสดใส ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ฟันดี ยิ้มสดใส ประจำปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " ฟันดี ยิ้มสดใส ประจำปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3065-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคในช่องปากสามารถพบได้มากในคนทุกวัย เริ่มตั้งแต่เด็กแรกเกิด – 3 ปี โดยเด็กจะเริ่มมีฟันน้ำนมเมื่ออายุ 6 เดือน พบปัญหาฟันผุตั้งแต่อายุ 9 เดือนและผุมากขึ้นตามวัย ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ได้รับการรักษาโรคฟันผุในวัยเด็กส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการ เนื่องจากการสูญเสียฟันน้ำนมไปก่อนกำหนด ทำให้เด็กรับประทานอาหารลำบากเคี้ยวไม่สะดวก และเด็กที่มีฟันน้ำนมผุมากจะมีแนวโน้มว่า ฟันแท้จะผุมากขึ้นเช่นกันผู้ปกครองจำเป็นต้องตระหนักถึงความสำคัญของฟันน้ำนม ต้องไม่ละเลยการทำความสะอาดช่องปากให้เด็กเพื่อให้เด็กเคยชินเมื่อเริ่มมีฟัน เพราะเมื่อฟันน้ำนมขึ้นหลายซี่พบว่าเด็กส่วนใหญ่จะไม่ให้ความร่วมมือในการแปรงฟัน สิ่งสำคัญจึงอยู่ที่ผู้ปกครองที่จะใส่ใจสุขภาพฟัน ส่วนเด็กอายุ 3 - 6 ปี เด็กกลุ่มนี้ส่วนใหญ่อยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือโรงเรียน แม้ว่าทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะมีการจัดนมจืดให้แก่เด็กแล้วก็ตาม แต่พบว่าเด็กยังดื่มนมหวานและนมเปรี้ยวรวมทั้งขนมขบเคี้ยวที่ไม่จำเป็นเมื่ออยู่บ้านสาเหตุสำคัญของปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กแรกเกิด – 6 ปี เกิดจากผู้ปกครองไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก ดังนั้นผู้ปกครองจึงต้องเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพช่องปาก โดยการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน จัดอาหารว่างที่เน้นผลไม้สดแทนขนมหวานและ ลดหรือเลิกขนมขบเคี้ยวที่ไม่จำเป็น การนำเด็กไปตรวจสุขภาพปากและฟัน รวมทั้งการทาฟลูออไรด์วานิชที่ตัวฟันทุก 3 - 6 เดือน เพื่อป้องกันฟันผุในเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุ ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอบต.ตุยง บ้านบางปลาหมอ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสุขภาพช่องงปากของเด็ก จึงได้จัดทำโครงการฟันดียิ้มสวยขึ้น เพื่อเป็นการปูพื้นฐานการดูแลทันตสุขภาพที่ดีและส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ ตระหนักถึงความสำคัญการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี
  2. เพื่อผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง บ้านบางปลาหมอ มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
  2. จัดประชุมชี้แจงโครงการ
  3. พัฒนาองค์ความรู้
  4. สรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กด้วยการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน
  2. เพื่อให้เด็กมีสุขภาพฟันที่ดี
  3. เพื่อให้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลเด็กเกี่ยวกับการทำความสะอาดช่องปากและการให้โภชนาการที่ถูกต้องสำหรับเด็กตามวัยครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน

วันที่ 1 พฤษภาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ส่งเสริมให้เด็กมีการแปรงฟันที่ถูกวิธี การดูแลสุขภาพช่องปาก  สร้างสุขนิสัยที่ดี หลังรับประทานอาหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง บ้านบางปลาหมอ มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง

 

0 0

2. จัดประชุมชี้แจงโครงการ

วันที่ 15 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

เตรียมความพร้อมของกิจกรรมที่จะดำเนินการ เช่น จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่คณะกรรมการศูนย์ฯ เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการ เจ้าหน้าที่ เกิดความเข้าใจกระบวนการทำงานในกิจกรรมต่างๆ

 

12 0

3. พัฒนาองค์ความรู้

วันที่ 18 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพช่องปากและสาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่ผู้ปกครอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น 2.ร้อยละ 100 ผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง บ้านบางปลาหมอ มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง

 

50 0

4. สรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 30 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

สรุปกิจกรรมต่างๆ ค่าใช้จ่าย เพื่อรายงานคณะกรรมการกองทุนฯ และจัดทำรูปเล่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรูปเล่มรายงานคณะกรรมการกองทุนฯ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผลการดำเนินงาน 1.1 สรุปผลการดำเนินงานโดยแยกตามวัตถุประสงค์ดังนี้
  2. เพื่อให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี
        - ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพฟันของเด็ก ต้องแปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้งคือ เช้า และ ก่อนนอน หรือแปรงฟันทุกครั้งหลังกินอาหารกลางวันกรณีเด็กอยู่ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ และควรพาบุตรหลานพบหมอฟันตั้งแต่เด็กๆ โดยอย่าขู่เด็กให้กลัวหมอฟัน เพราะจะทำให้เด็กฝังใจจนไม่อยากไปพบหมอฟันในครั้งต่อไป
    1. เพื่อผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง บ้านบางปลาหมอ มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง     - ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ได้รับความรู้จากการสาธิตการแปรงฟันของเด็กที่ถูกวิธีและการเลือกแปรงฟันและยาสีฟันที่เหมาะสมกับเด็กในวัยนี้         - กิจกรรมการเคลือบฟลูออไรด์วานิชซึ่งทางโรงพยาบาลหนองจิกได้ส่งบุคลากรเข้ามาให้บริการกับเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอบต.ตุยง บ้านบางปลาหมอ อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี     สรุปผลการดำเนินงาน มีการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานดังนี้ แผนการดำเนินงาน โครงการฟันดี ยิ้มสดใส ปีงบประมาณ 2563 วัน เดือน ปี เวลา กิจกรรม 1 กันยายน 2563

7 กันยายน 2563 18 กันยายน 2563 08.00 น.- 08.30 น.
08.30 น. - 09.00 น.
09.00 น. - 12.00 น.

12.00 น. -13.00 น.
13.00 น. - 16.00 น.

16.00 น.– 16.30 น. จัดประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ ประชาสัมพันธ์โครงการ

ลงทะเบียน พิธีเปิด โดย รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง อบรม หัวข้อ สร้างสุขลักษณะที่ดีในการดูแลช่องปากสำหรับเด็ก (วิทยากรจากรพ.หนองจิก) พักรับประทานอาหารกลางวัน การแปรงฟันอย่างถูกวิธีและปัญหาเด็กไทยกับโรคฟันผุ(วิทยากรจากรพ.หนองจิก) สรุปกิจกรรม/ซักถามปัญหาทั่วไป


1.2 จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คน 1.3 จากการทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาฟันในเด็ก กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมเรื่องสร้างสุขลักษณะที่ดีในการดูแลช่องปากสำหรับเด็ก จำนวน 50 คน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ตารางที่ 1 แสดงร้อยละของเพศผู้เข้ารับการอบรม เพศ จำนวน ร้อยละ ชาย 11 22 หญิง 39 78 รวม 50 100 จากตารางที่ 1 พบว่า จำนวนผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 78 รองลงมาเพศชาย ร้อยละ
22 ตารางที่ 2 แสดงสถานภาพสมรสของผู้เข้ารับการอบรม สถานภาพ จำนวน ร้อยละ โสด 5 10 สมรส 45 90 หม้าย - - อื่นๆ - - รวม 50 100 จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีสถานภาพสมรสมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 90 รองลงมาโสดร้อยละ 10 ตารางที่ 3 แสดงระดับการศึกษาของผู้เข้ารับการอบรม สถานภาพ จำนวน ร้อยละ ไม่ได้เรียน 2 4 ประถมศึกษา 2 4 มัธยมศึกษา 35 70 อนุปริญญาหรือประกาศนียบัตร 6 12 ปริญญาตรี              5 10 รวม 50 100

จากตารางที่ 3 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีระดับการศึกษา รองลงมามัธยมศึกษามากที่สุดคิดเป็นร้อยละ70รองลงมาระดับอนุปริญญาร้อยละ 12 ปริญญาตรี ร้อยละ 10 ตามลำดับ





ตารางที่ 4 แสดงอาชีพของผู้เข้ารับการอบรม อาชีพ จำนวน ร้อยละ ค้าขาย 5 10 รับจ้าง 33 66 เกษตรกร 5 10 แม่บ้าน 5 10 รับราชการ            2 4 รวม 50 100 จากตารางที่ 4 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีอาชีพรับจ้างมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 66 รองลงมาแม่บ้าน,เกษตรกร ค้าขายร้อยละ10 และรับราชการร้อยละ 4 ตามลำดับ ส่วนที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับสร้างสุขลักษณะที่ดีในการดูแลช่องปากสำหรับเด็ก ตารางที่ 1 แสดงความรู้เกี่ยวกับสร้างสุขลักษณะที่ดีในการดูแลช่องปากสำหรับเด็กของผู้เข้ารับการอบรมก่อนการอบรมแยกในแต่ละข้อ

ข้อ/คำถาม ตอบถูก (คน) ร้อยละ ตอบผิด (คน) ร้อยละ (1)ฟันน้ำนมของลูกสำคัญ เพราะพัฒนาการด้านต่างๆ ที่สำคัญต่อสุขภาพฟันในอนาคตขึ้นอยู่กับฟันน้ำนม 18 36 32 64 (2) สอนให้เด็กเล็กเริ่มใช้แก้วน้ำแทนขวดนมตั้งแต่อายุ 6-12 เดือนและเปลี่ยนจากขวดนม เป็นการใช้แก้วน้ำตอนอายุ 1 ปี 15 30 35 70 (3)การแปรงฟันด้วยแปรงสีฟันในเด็กควรเริ่มไม่ช้าไปกว่าเมื่อมีฟันกรามน้ำนมขึ้นเพราะบริเวณด้านบดเคี้ยวของฟันกรามมีหลุมร่องฟันลึก 9 18 41 82 (4)วิธีการแปรงฟันที่ง่ายและมีประสิทธิภาพดีในเด็กคือเทคนิคการแปรงที่เรียกว่า Horizontal scrub คือวางแปรงในแนวนอน และขยับสั้นๆในแนวนอน 9 18 41 82 (5)การที่ปล่อยให้เด็กทารกหลับไปพร้อมขวดนมเมื่อเด็กทารกนอนหลับน้ำตาลที่อยู่ในของเหลวก็จะเคลือบอยู่รอบๆฟัน และเป็นสาเหตุของฟันผุ 10 20 40 80 (6) เมื่อฟันน้ำนมผุจะเกิดปัญหาทางการได้ยินและการพูด 12 24 38 76 (7)อย่าให้เด็กเข้านอนขณะที่ยังดื่มนม น้ำผลไม้ หรือน้ำหวานจากขวดนม แต่ถ้าจำเป็นต้องให้เด็กทารกหลับพร้อมขวดนมให้เติมน้ำเปล่าแทน 10 20 40 80 (8) ผู้ปกครองควรเป็นผู้บีบยาสีฟันและแปรงฟันให้อย่างน้อยวันละสองครั้งคือ เช้าและก่อนนอน 15 30 35 70 (9) ปริมาณยาสีฟันที่ใช้ในเด็กอายุน้อยกว่าสามปีให้บีบยาสีฟันแค่เป็นจุดพอเปียก (smear) และเด็กอายุ 3-6 ปีให้บีบยาสีฟันขนาดเท่าขนาดแปรงเด็ก 14 28 36 72 (10) การตรวจฟันตามหมอนัดอย่างสม่ำเสมอทุก 6 เดือนเพื่อช่องปากที่ดีของเด็ก 11 22 39 78

จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ก่อนการอบรมตอบถูกในข้อคำถามที่ 1 มากสุดที่ร้อยละ 36 มีความรู้ตอบถูกน้อยสุดที่ข้อคำถามที่ 3,4 ร้อยละ 18
ตารางที่ 2 แสดงความรู้เกี่ยวกับสร้างสุขลักษณะที่ดีในการดูแลช่องปากสำหรับเด็กของผู้เข้ารับการอบรมหลังการอบรมแยกในแต่ละข้อ

ข้อ/คำถาม ตอบถูก (คน) ร้อยละ ตอบผิด (คน) ร้อยละ (1)ฟันน้ำนมของลูกสำคัญ เพราะพัฒนาการด้านต่างๆ ที่สำคัญต่อสุขภาพฟันในอนาคตขึ้นอยู่กับฟันน้ำนม 40 80 10 20 (2) สอนให้เด็กเล็กเริ่มใช้แก้วน้ำแทนขวดนมตั้งแต่อายุ 6-12 เดือนและเปลี่ยนจากขวดนม เป็นการใช้แก้วน้ำตอนอายุ 1 ปี 45 90 5 10 (3)การแปรงฟันด้วยแปรงสีฟันในเด็กควรเริ่มไม่ช้าไปกว่าเมื่อมีฟันกรามน้ำนมขึ้นเพราะบริเวณด้านบดเคี้ยวของฟันกรามมีหลุมร่องฟันลึก 42 84 8 16 (4)วิธีการแปรงฟันที่ง่ายและมีประสิทธิภาพดีในเด็กคือเทคนิคการแปรงที่เรียกว่า Horizontal scrub คือวางแปรงในแนวนอน และขยับสั้นๆในแนวนอน 45 90 5 10 (5)การที่ปล่อยให้เด็กทารกหลับไปพร้อมขวดนมเมื่อเด็กทารกนอนหลับน้ำตาลที่อยู่ในของเหลวก็จะเคลือบอยู่รอบๆฟัน และเป็นสาเหตุของฟันผุ 43 86 7 14 (6) เมื่อฟันน้ำนมผุจะเกิดปัญหาทางการได้ยินและการพูด 45 90 5 10 (7)อย่าให้เด็กเข้านอนขณะที่ยังดื่มนม น้ำผลไม้ หรือน้ำหวานจากขวดนม แต่ถ้าจำเป็นต้องให้เด็กทารกหลับพร้อมขวดนมให้เติมน้ำเปล่าแทน 43 86 7 14 (8) ผู้ปกครองควรเป็นผู้บีบยาสีฟันและแปรงฟันให้ อย่างน้อยวันละสองครั้งคือ เช้าและก่อนนอน 48 96 2 4 (9) ปริมาณยาสีฟันที่ใช้ในเด็กอายุน้อยกว่าสามปีให้บีบยาสีฟันแค่เป็นจุดพอเปียก (smear) และเด็กอายุ 3-6 ปีให้บีบยาสีฟันขนาดเท่าขนาดแปรงเด็ก 43 86 7 14 (10) การตรวจฟันตามหมอนัดอย่างสม่ำเสมอทุก 6 เดือนเพื่อช่องปากที่ดีของเด็ก 42 84 8 16


จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้หลังการอบรมตอบถูกในข้อคำถามที่ 2,4,6 มากสุดที่ร้อยละ 90 มีความรู้ตอบถูกน้อยสุดที่ข้อคำถามที่ 1 ร้อยละ 80 เมื่อเปรียบเทียบความรู้ก่อนการอบรมและหลังการอบรมพบว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 90 2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ •บรรลุตามวัตถุประสงค์ •ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ..................50............................................ คน 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ............12,700.....................................บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ............ 12,700.................บาทคิดเป็นร้อยละ........100............... งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ..........................................บาทคิดเป็นร้อยละ.............................. 4.สรุปผลความพึงพอใจต่อการร่วมกิจกรรม
  ระดับ 5 = มากที่สุด  4 = มาก  3 = ปานกลาง  2 = น้อย  1 = น้อยที่สุด
ที่ รายการ ระดับความพึงพอใจ 5 4 3 2 1 1 รูปแบบการจัดกิจกรรม √
2 ระยะเวลาในการจัดและการประชาสัมพันธ์ √
3 ความเหมาะสมของสถานที่ √
4 ความเหมาะสมของวิทยากร √
5 การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร เข้าใจง่าย น่าสนใจ √
6 กิจกรรมที่จัดตรงกับความต้องการของผู้ร่วมกิจกรรม √
7 การดูแลเอาใจใส่ของผู้จัดกิจกรรม √
8 ความสะดวกในการเดินทางมาร่วมกิจกรรม √
9 การนำไปใช้ประโยชน์ / ประโยชน์ที่ได้ √
10 ความพึงพอใจต่อกิจกรรมที่จัด √
สรุปผลประเมินโครงการ ( ใช้ค่าฐานนิยม ) ระดับความพึงพอใจ ระดับ 5 = มากที่สุดหรือดีมาก

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี
50.00 50.00 100.00

 

2 เพื่อผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง บ้านบางปลาหมอ มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง บ้านบางปลาหมอ มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง
50.00 50.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี (2) เพื่อผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง บ้านบางปลาหมอ มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน (2) จัดประชุมชี้แจงโครงการ (3) พัฒนาองค์ความรู้ (4) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ฟันดี ยิ้มสดใส ประจำปีงบประมาณ 2563

รหัสโครงการ 63-L3065-3-02 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

ฟันดี ยิ้มสดใส ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3065-3-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศพด.อบต.ตุยง บ้านบางปลาหมอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด