กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา


“ โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ ตำบลตะโละแมะนา ”

ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายนิพนธ์ บัวจันทร์

ชื่อโครงการ โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ ตำบลตะโละแมะนา

ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-2986-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ ตำบลตะโละแมะนา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ ตำบลตะโละแมะนา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ ตำบลตะโละแมะนา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-2986-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันประชาชนมีอายุที่ยืนยาวขึ้น อันเนื่องมาจากการพัฒนางานด้านการแพทย์การสาธารณสุขทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรผู้สูงอายุจึงทำให้สังคมไทย ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ หมายความว่าประชากรที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไปมีจำนวนและสัดส่วนมากขึ้น ซึ่งองค์การสหประชาชาติ ให้คำนิยามว่า ประเทศใดที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเป็นสัดส่วนร้อยละ 10 หรืออายุ 65 ปีขึ้นไปเกินร้อยละ 7 ของจำนวนประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์เมื่อมีสัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 20 หรืออายุ 65 ปีขึ้นไปเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 14 ประชากรผู้สูงอายุของประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจาก 7.0 ล้านคน หรือร้อยละ 10.7 ในปี 2550 เป็น 7.5 ล้านคน หรือร้อยละ 11.7 ในปี 2553 และคาดว่าจะเพิ่มเป็น 14.5 ล้านคน หรือร้อยละ 20 ในปี 2568 หรือ 1 ใน 5 จะเป็นประชากรผู้สูงอายุซึ่งผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีความเสื่อมของร่างกาย มีความสามารถในการช่วยเหลือตัวเองได้น้อยลง และมีปัญหาเกี่ยวกับโรคเรื้อรังต่างๆเป็นผลให้มีการช่วยเหลือตนเองได้น้อยลง โดยเฉพาะในช่วงอายุ 80-89 ปี ของผู้สูงอายุมีปัญหาในการทำกิจวัตรประจำวันซึ่งต้องอาศัยความช่วยเหลือและการดูแลเอาใจใส่จากญาติพี่น้อง จากข้อมูลดังกล่าวสามารถใช้สะท้อนถึงแนวโน้มของปัญหาอันสืบเนื่องมาจากการที่จะมีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นในอนาคตได้ ประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไป ตั้งแต่ปี 2555-2559 พบว่าข้อมูลจำนวนประชากรผู้สูงอายุของตำบลตะโละแมะนา ในปี พ.ศ. 2555 มีประชากรผู้สูงอายุ 220 คน คิดเป็นร้อยละ 6.65 ในปี พ.ศ. 2556 มีประชากรผู้สูงอายุ 229 คน คิดเป็นร้อยละ 6.92ปี พ.ศ. 2557 มีประชากรผู้สูงอายุ 234 คน คิดเป็นร้อยละ 7.07 ในปี พ.ศ. 2558 มีประชากรผู้สูงอายุ 273 คน คิดเป็นร้อยละ 7.63 และในปี พ.ศ. 2559 มีประชากรผู้สูงอายุ 281 คน คิดเป็นร้อยละ 8.03 จะเห็นได้ว่าจำนวนผู้สูงอายุของตำบลตะโละแมะนา มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องและกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มตัว การดูแลผู้สูงอายุในชุมชนจึงมีความจำเป็นที่จะต้องคำนึงถึงความครอบคลุมประชากรและภาวะสุขภาพที่มีความแตกต่างเหล่านี้ คุณลักษณะของผู้สูงอายุและปัญหาต่าง ๆ ที่ผู้สูงอายุในปัจจุบันกำลังประสบ เป็นข้อมูลที่สำคัญที่สามารถใช้สะท้อนถึงแนวโน้มของปัญหาอันสืบเนื่องมาจากการที่จะมีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นในอนาคต ตลอดจนสามารถใช้เป็นแนวทางในการวางนโยบายและแผนการดำเนินงานที่เหมาะสมเกี่ยวกับผู้สูงอายุต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อส่งเสริมผู้สูงอายุให้มีสุขภาพดีตามมาตรฐานที่พึงประสงค์ 2 เพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพเชื่อมโยงจากสถานบริการสู่ชุมชน 3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีการพึ่งพาตนเองและพึ่งพาซึ่งกันและกันในการดูแลสุขภาพ มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม 2 ชมรมผู้สูงอายุตำบลตะโละแมะนามีการดำเนินงานอย่างเข้มแข็งมีการบริหารจัดการชมรมที่ดีและมีการจัดกิจกรรมอย่างเหมาะสม ก่อให้เกิดภาวะสุขภาพที่ดีของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    มีการจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ จำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 116 ซึ่งเกินเเป้าหมายที่วางไว้ ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพและคัดกรอง ADL จำนวน 242 ราย จากเป้าหมาย 242 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 แยกเป้น 3 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มติดสังคม 225 ตน ร้อยละกลุ่มติดบ้าน 17 คน ร้อยละ กลุ่มติดเตียง 0 คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1 เพื่อส่งเสริมผู้สูงอายุให้มีสุขภาพดีตามมาตรฐานที่พึงประสงค์ 2 เพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพเชื่อมโยงจากสถานบริการสู่ชุมชน 3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพเบาหวาน, ความดันโลหิตสูง,โรคในช่องปาก,โรคตาต้อกระจก,โรคซึมเศร้า,สมองเสื่อม ร้อยละ 90 2. ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองสุขภาพพบภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งต่อรับการรักษาที่เหมาะสม ร้อยละ 100 3. ผู้สูงอายุได้เข้าร่วมกิจกรรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ ร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อส่งเสริมผู้สูงอายุให้มีสุขภาพดีตามมาตรฐานที่พึงประสงค์
    2 เพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพเชื่อมโยงจากสถานบริการสู่ชุมชน 3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเพื่อสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ ตำบลตะโละแมะนา จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-2986-11

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายนิพนธ์ บัวจันทร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด