กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง


“ โครงการประชารัฐร่วมใจ เฝ้าระวัง ป้องกัน ภัยร้ายจากไข้มาลาเรีย ปี 2560 ”

ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเลาะ สะรี

ชื่อโครงการ โครงการประชารัฐร่วมใจ เฝ้าระวัง ป้องกัน ภัยร้ายจากไข้มาลาเรีย ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4116-4-7 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประชารัฐร่วมใจ เฝ้าระวัง ป้องกัน ภัยร้ายจากไข้มาลาเรีย ปี 2560 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประชารัฐร่วมใจ เฝ้าระวัง ป้องกัน ภัยร้ายจากไข้มาลาเรีย ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประชารัฐร่วมใจ เฝ้าระวัง ป้องกัน ภัยร้ายจากไข้มาลาเรีย ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4116-4-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,018.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสาธารณสุขที่สำคญของจังหวัดยะลาในขณะนี้คือ การระบาดของดรคมาลาเรีย (malaria) ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญโรคหนึ่งที่มีแนวโน้มกรป่วยเพิ่มขึ้นทุกปี จากสถานณการณ์โรคมาลาเรีย พบว่าจังหวัดยะลา ปี 2559 มีผู้ป่วยด้วยโรคมาลาเรีย จำนวนทั้งสิ้น 2,042 ราย เสียชีวิต 1 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 455.89 ต่อปีต่อประชากรแสนคน และในปี 2560 พบผู้ป่วย 222 ราย อัตราป่วย 49.93 ต่อประชากรแสนคนกลุ่มอายุที่พบสูงสุด 15-25 ปี จำนวน 42 ราย และอาชีที่พบสูงสุด คือนักเรียน113 คน อำเภอที่มีอัตราป่วยสูงสุดคือ อำเภอธารโต อัตรป่วย 345.30 ต่อประชากรแสนคน อำเภอกาับง อัตรา 280.31 ต่อประชากรแสนคน และอำเภอกรงปีนัง อัตราป่วย 90.72 ต่อประชากรแสนคน และดดยเฉพาะในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลูโบ๊ะปันยัง (หมู่ที่ 3,6 ตำบลกาบังและหมู่ที่ 6 ตำบลบาละ) พบผู้ป่วยจำนวน 38 ราย อัตราป่วย 781.73 ต่อประชากรแสนคน (งานระบาดวิทยา สำนักสาธารณสุขอำเภอกาบัง)
เมื่อทบทวนในอดีตพบว่าอุปสรรคในการดำเนินงานควบคุมโรคมาลาเรียในพื้นที่อำเภอกาบัง เนื่องจากปัจัยที่สำคัญในการแพร่ระบาดของโรคคือ สภาพภูมิประเทศ และภูมิอากาศ ที่มีฝนตกชุกตลอดปี เป็นพื้นที่ที่เหมาะแก่การแพร่กระจายของโรคก็คือ สภาพภูมิประเทศ และภูมิอากาศ ที่มีฝนตกชุกตลอดปี เป็นพื้นที่ที่เหมาะแก่การแพร่กระจายของยุง ที่เป็นพาหะนำโรค แต่ก็มีอีกปัจจัยหนึ่งที่สำคัญต่อการแพร่กระจายของยุงในพื้นที่ คือความตระหนักของประชาชนในชุมชน ที่มีพื้นฐานความรู้เรื่องไข้มาลาเรียเป็นอย่างดี ในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง และประชากรในพื้นที่มีการเคลื่อนย้ายไปมาซึ่งส่งผลทำให้การติดตามในการรักษาของเจ้าหน้าที่มาลาเรียคลีนิกทำได้ไม่สมบูรณ์ อีกทั้งยังมีพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยไม่ต่อเนื่องโดยมักจะขาดยา (หยุดกินยาเอง) เมื่อมีอาการป่วยดีชึ้นรวมทั้งไม่ตระหนักของความสำคัญของการนอนในมุ้ง และมีความยากลำบากในการเดินทางมารับการตรวจรักษาที่มาลาเรียคลีนิกหรือ รพ.สต. ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ส่งผลให้ทีมปฏิบัติงานต้องปรับแผนและวิธีการดำเนินงานใหม่โดยเน้นการเร่งค้นหาผู้ป่วยไข้มาลาเรีย (active case) มากขึ้น แต่อย่างไรก็ตามคงไม่ทิ้งการค้นหาผู้ป่วยทางอ้้อม (passive case) โดย รพ.สต.ได้เจาะเลือดตรวจใช้ชุดตรวจ Optimal ใน case ที่มีอาการบ่งชี้ และสงสัย ให้การรักษาตามCPG และเจาะเลือดป้ายสไลด์ส่งให้คลินิกมาลาเรีย (นคม.ยะลา) และโรงพยาบาลตรวจวินิจฉัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อกำจัดยุงพาหะนำโรคมาลาเรีย ในพื้นที่หมู่ที่ 3,6 ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง
  2. 2.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียให้ได้มากกว่า 20% (เทียบอัตราป่วยปี พ.ศ 2559)
  3. 3.เพื่อเจาะเลือดค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกในพื้นที่ A1 (90%)และ A2 (60%) 3.1 เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการวินิจฉัยอย่างรวดเร็ว และการรักษาโรคไข้มาลาเรียทันทีที่พบเชื้ออย่างมีประสิทธิภาพทั้งจากในสถารบริการสถารณสุข และนอกสานณ์บริการสาธารณสุข 3.2เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายตระหนักถึงการปฏิบัติที่นำไปสู่สุขภาพที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมการควบคุมโรคไข้มาลาเรียในรูปแบบที่มีชุมชนทุกองค์กรมีส่วนร่วม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    -สามารถควบคุมการระบาดซ้ำของโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ดำเนินการได้ -ประชาชนในพื้นที่เป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมการระบาดโรค ตลอดจนให้ความร่วมมือในการรณรงค์ อย่างต่อเนื่อง -สามารถลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่เป้าหมายได้ ทำให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียลดลงและไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อกำจัดยุงพาหะนำโรคมาลาเรีย ในพื้นที่หมู่ที่ 3,6 ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียให้ได้มากกว่า 20% (เทียบอัตราป่วยปี พ.ศ 2559)
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.เพื่อเจาะเลือดค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกในพื้นที่ A1 (90%)และ A2 (60%) 3.1 เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการวินิจฉัยอย่างรวดเร็ว และการรักษาโรคไข้มาลาเรียทันทีที่พบเชื้ออย่างมีประสิทธิภาพทั้งจากในสถารบริการสถารณสุข และนอกสานณ์บริการสาธารณสุข 3.2เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายตระหนักถึงการปฏิบัติที่นำไปสู่สุขภาพที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมการควบคุมโรคไข้มาลาเรียในรูปแบบที่มีชุมชนทุกองค์กรมีส่วนร่วม
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อกำจัดยุงพาหะนำโรคมาลาเรีย ในพื้นที่หมู่ที่ 3,6 ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง (2) 2.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียให้ได้มากกว่า 20% (เทียบอัตราป่วยปี พ.ศ 2559) (3) 3.เพื่อเจาะเลือดค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกในพื้นที่ A1 (90%)และ A2 (60%)
    3.1 เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการวินิจฉัยอย่างรวดเร็ว และการรักษาโรคไข้มาลาเรียทันทีที่พบเชื้ออย่างมีประสิทธิภาพทั้งจากในสถารบริการสถารณสุข และนอกสานณ์บริการสาธารณสุข 3.2เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายตระหนักถึงการปฏิบัติที่นำไปสู่สุขภาพที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมการควบคุมโรคไข้มาลาเรียในรูปแบบที่มีชุมชนทุกองค์กรมีส่วนร่วม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการประชารัฐร่วมใจ เฝ้าระวัง ป้องกัน ภัยร้ายจากไข้มาลาเรีย ปี 2560 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4116-4-7

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอับดุลเลาะ สะรี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด