กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง


“ โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาลเมืองเบตง ”

ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณาโต๊ะมัน

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาลเมืองเบตง

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 มิถุนายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาลเมืองเบตง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาลเมืองเบตง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาลเมืองเบตง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ของผู้สูงอายุในประเทศไทยที่ผ่านมามีปัญหาสุขภาพพบเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ไม่ว่าจะเป็นโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และมักจะตามมาเป็นโรคหลอดเลือดสมอง มีอาการอัมพฤกษ์ อัมพาต ทำให้มีความพิการตามมา ทำให้ผู้สูงอายุที่พิการกลายเป็นผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในปี ๒๕๖๐กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดยุทธศาสตร์ โดยเฉพาะยุทธศาสตร์ที่๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ลดปัจจัยเสี่ยงและส่งเสริมการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ รัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับประชากรกลุ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ซึ่งเป็นกลุ่มที่ต้องการให้คนมาดูแลในการช่วยเหลือกิจวัตรประจำวัน จึงมีนโยบายให้มีพยาบาลผู้จัดการดูแลผู้สูงอายุ(Care manager) ๑ คนต่อผู้สูงอายุ ๔๐ คน และ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ(Caregiver)โดย ๑ คนต่อผู้สูงอายุ ๕-๑๐ คน ซึ่งผู้สูงอายุจะได้รับการประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน(Activity of Daily =ADL)
ในปี ๒๕๕๙ ตำบลเบตง มีผู้สูงอายุ จำนวน ๒,๙๗๐ คน ผู้สูงอายุได้รับการประเมินกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน (ADL) พบว่า ติดสังคม จำนวน ๒,๘๔๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๕.๗๕ติดบ้าน จำนวน ๙๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๒๓ ติดเตียง จำนวน ๓๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๐๑ และผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงทั้งหมด จำนวน ๑๒๖ คน แบ่งเป็น ๔ กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มที่ ๑ จำนวน ๗๕ คน กลุ่มที่ ๒ จำนวน ๒๑ คน กลุ่มที่ ๓ จำนวน ๒๗ คน และกลุ่มที่ ๔ จำนวน ๓ คน และในกลุ่มติดบ้าน ติดเตียง หรือผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง มีการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพค่อนข้างยากลำบาก และในการดำเนินชีวิตประจำวันต้องพึ่งพาผู้ดูแล ซึ่งบางคนขาดคนดูแลและพักอาศัยอยู่โดยลำพัง ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองกิโลเมตรที่ ๓ จึงได้จัดทำโครงการนี้ เพื่อจัดรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงให้เหมาะสมเป็นรายบุคคล จัดหาผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Caregiver) ที่มีความรู้และความเข้าใจวิธีการดูแลผู้สูงอายุที่ถูกต้อง และเหมาะสม อันส่งผลให้ผู้สูงอายุ มีคุณภาพชีวิตที่ดี และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุ(caregiver)ให้สามารถดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่รับผิดชอบได้ตามเกณฑ์ 2. เพื่อจัดระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และให้ผู้สูงอายุมีภาวะพึ่งพิง ได้เข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคมและสิ่งแวดล้อมของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ที่ถูกต้อง และเหมาะสม
    2. มีระบบบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และผู้สูงอายุมีภาวะพึ่งพิงได้เข้าถึงบริการสุขภาพที่ มีคุณภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ค่าพาหนะสำหรับ อสม./จิตอาสา (ผู้ดูแลผู้สูงอายุ)

    วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคมและสิ่งแวดล้อมของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ที่ถูกต้อง และเหมาะสม
    2. มีระบบบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และผู้สูงอายุมีภาวะพึ่งพิงได้เข้าถึงบริการสุขภาพที่ มีคุณภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

     

    20 20

    2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (กิจกรรมที่ 2)

    วันที่ 15 มิถุนายน 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคมและสิ่งแวดล้อมของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ที่ถูกต้อง และเหมาะสม
    2. มีระบบบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และผู้สูงอายุมีภาวะพึ่งพิงได้เข้าถึงบริการสุขภาพที่ มีคุณภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

     

    20 20

    3. ค่าป้ายไวนิล และค่าถ่ายเอกสาร

    วันที่ 19 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคมและสิ่งแวดล้อมของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ที่ถูกต้อง และเหมาะสม
    2. มีระบบบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และผู้สูงอายุมีภาวะพึ่งพิงได้เข้าถึงบริการสุขภาพที่ มีคุณภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

     

    25 25

    4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (กิจกรรมที่ 3)

    วันที่ 19 มิถุนายน 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคมและสิ่งแวดล้อมของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ที่ถูกต้อง และเหมาะสม
    2. มีระบบบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และผู้สูงอายุมีภาวะพึ่งพิงได้เข้าถึงบริการสุขภาพที่ มีคุณภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

     

    20 20

    5. ค่าอาหารกลางวัน (กิจกรรมที่ 1)

    วันที่ 22 มิถุนายน 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคมและสิ่งแวดล้อมของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ที่ถูกต้อง และเหมาะสม
    2. มีระบบบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และผู้สูงอายุมีภาวะพึ่งพิงได้เข้าถึงบริการสุขภาพที่ มีคุณภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

     

    25 25

    6. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าประชุม กิจกรรมที่ 1

    วันที่ 22 มิถุนายน 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคมและสิ่งแวดล้อมของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ที่ถูกต้อง และเหมาะสม
    2. มีระบบบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และผู้สูงอายุมีภาวะพึ่งพิงได้เข้าถึงบริการสุขภาพที่ มีคุณภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

     

    25 25

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคมและสิ่งแวดล้อมของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ที่ถูกต้อง และเหมาะสม มีระบบบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และผู้สูงอายุมีภาวะพึ่งพิงได้เข้าถึงบริการสุขภาพที่ มีคุณภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุ(caregiver)ให้สามารถดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่รับผิดชอบได้ตามเกณฑ์ 2. เพื่อจัดระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และให้ผู้สูงอายุมีภาวะพึ่งพิง ได้เข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุ(caregiver)ให้สามารถดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่รับผิดชอบได้ตามเกณฑ์
    2. เพื่อจัดระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และให้ผู้สูงอายุมีภาวะพึ่งพิง ได้เข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาลเมืองเบตง จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวรรณาโต๊ะมัน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด