กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2563 ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสัญญา ยือราน เภสัชกรชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2563

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63 – L7452 – 4 - 02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2563 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63 – L7452 – 4 - 02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นชอบให้ดำเนินงานระบบหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ตามมาตรา 18 (9) และมาตรา 47 ได้สนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ดำเนินการบริหารจัดการกองทุน ภายใต้หลักเกณฑ์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งเห็นชอบให้มีการจัดบริการ ส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน ควบคุมโรค และรักษาโรคเรื้อรัง (เบาหวาน ความดัน โลหิตสูง) ส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชน ในการเข้าถึงบริการด้านการสาธารณสุขอย่างทั่วถึง
    อย่างไรก็ตาม การดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพที่ผ่านมา อาจยังมีช่องว่าง รวมถึงปัญหาอุปสรรค อื่น ๆ อีกมากมายในพื้นที่ ที่ทำให้ประชาชนเข้าไม่ถึงบริการ รวมถึงการบริหารจัดการของกองทุนตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 ที่ใช้ในปัจจุบัน ยังต้องมีการพัฒนาทั้งความรู้ ความเข้าใจ ของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการและคณะทำงานของกองทุนฯ เพื่อการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยอาศัยเครื่องมือหรือรูปแบบที่มีความเหมาะสม สามารถเกิดการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดีขึ้น ทั้งนี้ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลาได้ทดลองปฏิบัติการใช้รูปแบบการอภิบาลผ่านความร่วมมือในการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเขตเมือง ซึ่งผลการดำเนินงานแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของความร่วมมือการทำงาน และเห็นว่า รูปแบบดังกล่าวสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในกลุ่มเป้าหมายอื่น ๆ ได้ เพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ นอกจากนี้ ในช่วงต้นปีที่ผ่านมาเกิดการแพร่ระบาดระบาดของโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ที่เกิดขึ้นทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย ทางกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา ได้เห็นความสำคัญและให้การสนับสนุนงบประมาณจัดทำโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อย่างเร่งด่วน อาศัยการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉินเพื่อให้ทันต่อสถานการณ์
      เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ เข้าใจ และพัฒนาศักยภาพการทำงานของคณะกรรมการกองทุน ที่ประกอบด้วย คณะกรรมการบริหารกองทุน คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตามรูปแบบที่พัฒนาขึ้นมา รวมทั้งการบริหารจัดการกองทุนในภาวะฉุกเฉิน โดยการอบรมให้ความรู้ ถอดบทเรียน ทั้งในเรื่อง ระเบียบ กฎเกณฑ์ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง หลักการบริหารจัดการเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก เป็นสิ่งที่จำเป็น ดังนั้น กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2563 ขึ้น เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการบริหารกองทุน คณะอนุกรรมการ และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง รวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องรูปแบบการอภิบาลผ่านความร่วมมือในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก รวมทั้งการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การฝึกอบรมเรื่อง “รูปแบบการอภิบาลผ่านความร่วมมือและการบริหารจัดการกองทุนในภาวะฉุกเฉิน” วิธีการ การฝึกอบรมและถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป้าหมาย คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ คณะอนุกรรมการ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 70

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คณะกรรมการบริหารกองทุน คณะอนุกรรมการ และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง รวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา ตรงตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพ
  2. กองทุนมีแผนงาน / โครงการ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การทำงานของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการบริหารกองทุน คณะอนุกรรมการ และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง รวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องรูปแบบการอภิบาลผ่านความร่วมมือในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก รวมทั้งการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน
ตัวชี้วัด : 1 คณะกรรมการบริหารกองทุน คณะอนุกรรมการ และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง รวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องรูปแบบการอภิบาลผ่านความร่วมมือในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก รวมทั้งการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน มากกว่าร้อยละ 80 2. จำนวนคณะกรรมการบริหารกองทุน และคณะอนุกรรมการ เข้าร่วมการอบรมมากกว่าร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 70

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการบริหารกองทุน คณะอนุกรรมการ และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง รวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องรูปแบบการอภิบาลผ่านความร่วมมือในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก รวมทั้งการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การฝึกอบรมเรื่อง “รูปแบบการอภิบาลผ่านความร่วมมือและการบริหารจัดการกองทุนในภาวะฉุกเฉิน” วิธีการ การฝึกอบรมและถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้  เป้าหมาย คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ คณะอนุกรรมการ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2563 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63 – L7452 – 4 - 02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสัญญา ยือราน เภสัชกรชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด