กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ดูแลสุขภาพเด็กเล็กด้วยอาหารหลัก 5 หมู่ บ้านบางปลาหมอ ปี 2564
รหัสโครงการ 64-L3065-2-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 8 ตำบลตุยง
วันที่อนุมัติ 28 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 15,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกอลีเยาะ อาแวดือมอง
พี่เลี้ยงโครงการ นายมะรอกี เวาะเล็ง
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 8 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.860964,101.194789place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
50.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของเด็กเล็กในพื้นที่บ้านบางปลาหมอ หมู่ที่ 8 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จากการสำรวจข้อมูลของกลุ่มเด็กเล็กในพื้นที่บ้านบางปลาหมอโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) พบว่ามีปัญหาด้านสุขภาพร่างกาย เช่นผอมเกินไป อ้วนเกินไป ซึ่งสาเหตุมาจากการที่ผู้ปกครองเลือกอาหารให้แก่บุตรหลานไม่ถูกต้อง ไม่รู้จักเลือกอาหารที่มีคุณค่า มีประโยชน์ตามหลักโภชนาการตามอาหารหลัก 5 หมู่ ซึ่งถ้าเด็กได้รับอาหารที่ไม่มีประโยชน์ จะมีผลทำให้การพัฒนาการด้านร่างกายช้าไปด้วย แต่ถ้าเด็กได้รับอาหารที่มีประโชยน์ทำให้การพัฒนาการดี มีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ มีจิตใจร่าเริงแจ่มใส การเรียนรู้ต่างๆก็จะดีตามไปด้วย ดังนั้น ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านบางปลาหมอ หมู่ที่ 8 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จึงเล็งเห็นความสำคัญด้านโภชนาการสำหรับเด็ก เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กๆในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีความสุข พัฒนาการได้สมส่วนตามวัย สามารถเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ตามหลักโภชนาการถูกสุขอนามัย มีความปลอดภัยและได้รับสารอาหารครบตามอาหารหลัก 5 หมู่ จึงได้จัดทำโครงการดูแลสุขภาพเด็กเล็กด้วยอาหารหลัก 5 หมู่ บ้านบางปลาหมอ ปี 2564 เพื่อขอรับการสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง และได้รับการพิจารณาอนุมัติจากคณะกรรมการกองทุนฯในลำดับต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่1 เพื่อคัดกรองภาวะโภชนาการในเด็กให้มีการพัฒนาการที่สมส่วนตามวัย
  1. เด็กอายุ0-5 ปี มีภาวะโภชนาการที่ดี สมส่วนตามวัยร้อยละ 80
50.00 60.00
2 ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กเล็กในพื้นที่มีการบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ และได้รับอาหารครบถ้วนทั้ง 5 หมู่
  1. เด็กอายุ0-5 ปี ได้รับการบริโภคอาหารที่มีถูกต้องตามหลักโภชนาการ
50.00 60.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 79 15,000.00 4 15,000.00
21 ต.ค. 47 - 30 เม.ย. 64 จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อใช้ในการคัดกรองสุขภาพเด็ก 0-5 ปี 0 6,030.00 6,030.00
21 ธ.ค. 60 - 17 ธ.ค. 64 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องพัฒนาการและการบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการแก่ผู้ปกครอง 60 8,520.00 8,520.00
1 เม.ย. 64 - 31 พ.ค. 64 คัดกรองภาวะเสี่ยงของเด็กที่มีอายุ0-5 ปี โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงของเด็กในพื้นที่ที่รับผิดชอบ 0 0.00 0.00
1 - 30 ก.ย. 64 สรุปผลการดำเนินงาน 0 0.00 -
24 ก.ย. 64 - 23 ต.ค. 64 พัฒนาศักยภาพเครือข่าย 19 450.00 450.00
13 ม.ค. 65 0 0.00 -
  1. พัฒนาศักยภาพเครือข่าย   -จัดประชุมสมาชิกชมรมอสม. และเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่
  2. คัดกรองภาวะเสี่ยงของเด็กที่มีอายุ 0-5 ปี โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงของเด็กในพื้นที่ที่รับผิดชอบ
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องพัฒนาการและการบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการแก่ผู้ปกครอง
  4. จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อใช้ในการคัดกรองสุขภาพเด็ก 0-5 ปี
  5. ถอดบทเรียนจากการดำเนินงานและจัดทำรายงานสรุปโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีความตระหนัก และใส่ใจในการบริโภคอาหารของบุตรหลาน สามารถจัดการบริโภคอาหารของบุตรหลานโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
  2. เด็กเล็กในพื้นที่สามารถเลือกซื้อและบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้องตามหลักโภชนาการและได้รับสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ พร้อมทั้งพัฒนาการของเด็กที่มีความสมส่วนตามวัย
  3. ภาคีเครือข่ายมีบทบาทในการดำเนินงานในพื้นที่
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ธ.ค. 2563 14:13 น.