กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2564 ”

ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปราณี สาแล๊ะมะ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3070-1-2 เลขที่ข้อตกลง 5/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3070-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,686.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสูบบุหรี่ เป็นสาเหตุสำคัญ ทำให้เกิดโรคที่คุกคามและเป็นอันตรายต่อชีวิต ได้แก่ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคมะเร็งปอด โรคหลอดเลือด เป็นต้น จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ เมื่อปี 2550 พบว่าคนไทยที่อายุเกิน 15 ปี และสูบบุหรี่มากถึงเกือบ 11 ล้านคน โดยในจำนวนนี้ 9.5 ล้านคนสูบบุหรี่เป็นประจำและ อีก 1 ล้านคนเศษ สูบเป็นครั้งเป็นคราว เมื่อเปรียบเทียบกับการสำรวจเมื่อ พ.ศ.2549 พบว่าจำนวนผู้สูบบุหรี่ในขณะนี้ลดลงเพียงเล็กน้อย (ไม่ถึงร้อยละ 5) เชื่อกันว่าเป็นผลมาจากประเทศไทยไม่มีการให้บริการช่วยเลิกบุหรี่อย่างเป็นระบบและไม่ทั่วถึง จากการประเมินสถานการณ์ดังกล่าวพบว่าหากบุคคลเหล่านี้ไม่เลิกสูบบุหรี่ จะมีผู้เสียชีวิตจากโรคอันสืบเนื่องจากการสูบบุหรี่ไม่ต่ำกว่า 1 ใน 4 หรือกว่า 2 ล้านคน จากสถานการณ์ข้อมูลการคัดกรองบุหรี่ในกลุ่มประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ในจังหวัดปัตตานี ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561-2563
พบว่า ร้อยละของการคัดกรองบุหรี่ในกลุ่มประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 19.18 ,18.20 ,21.74 ตามลำดับ ในอำเภอหนองจิก ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561-2563 พบว่า ร้อยละของการคัดกรองบุหรี่ในกลุ่มประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 5.30 ,13.88 ,16.39 ตามลำดับ ในพื้นที่ตำบลยาบี ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561-2563 พบว่า ร้อยละของการคัดกรองบุหรี่ในกลุ่มประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 6.96 ,5.29 ,26.39 ตามลำดับ (แหล่งข้อมูลจาก HDC จังหวัดปัตตานี ณ 18 ธันวาคม 2563) ซึ่งแนวโน้มการคัดกรองบุหรี่ในกลุ่มประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงวางไว้ และจากการสำรวจข้อมูลของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มารับยาจาก รพ.สต.ยาบี ทั้งหมด 45 ราย มีพฤติกรรมที่สูบหรี่/ใบจาก จำนวน 12 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.67% (แหล่งที่มาของข้อมูล : จากการสำรวจในคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.ยาบี) จากข้อมูลดังกล่าว พบว่า กลุ่มเยาวชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ยังมีการคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในชุมชนยังไม่ทั่วถึง ทำให้การคัดกรองยังไม่ผ่านเกณฑ์ ทำให้กลุ่มเยาวชนมีพฤติกรรมทางด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง และเป็นสาเหตุหลักทำให้เกิดความอยากรู้อยากลอง เพื่อนชวน มีภาวะเครียด สภาพแวดล้อมในชุมชม รวมไปถึงบุคคลในครอบครัวเป็นแบบอย่างที่ไม่ดี ส่งผลทำให้บุตรหลานในครอบครัว มีพฤติกรรมเกิดการเลียนแบบจากผู้ใหญ่ เป็นต้น ส่วนกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่มารับบริการที่ รพ.สต.ยังมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่และใบจากอีกด้วย ซึ่งมันจะส่งผลกระทบทางด้านสุขภาพอีกมากมาย เช่น โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไต ฯลฯ อีกทั้งในชุมชนยังไม่มีมาตรการทางสังคมหรือยังไม่มีกฎกติกาในชุมชน ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จึงได้เล็งเห็นและให้ความสำคัญในกลุ่มนี้ จึงได้จัดทำโครงการ “ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2564” นี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบุหรี่และโทษของพิษภัยบุหรี่ที่ถูกต้อง
  2. ๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลด ละ เลิก บุหรี่ได้
  3. ๓. เพื่อให้มัสยิด วัด โรงเรียนเป็นสถานที่ปลอดเขตบุหรี่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและพิษภัยของบุหรี่และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลด ละ เลิก บุหรี่
  2. 2.กิจกรรมชี้แจงและให้ความรู้ในการขับเคลื่อนการดำเนินงานบุหรี่
  3. 3.กิจกรรมชี้แจงและให้ความรู้ในการขับเคลื่อนการดำเนินงานบุหรี่และยาเสพติดในโรงเรียน
  4. 4.กิจกรรมให้ความรู้เรื่องบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่ในชุมชน และตรวจคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปที่สูบบุหรี่/ใบจาก
  5. 5. ติดตามเยี่ยมบ้านในกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลด ละ เลิกบุหรี่
  6. จัดเวทีถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน 84
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและพิษภัยของบุหรี่และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลด ละ เลิก บุหรี่

วันที่ 1 มกราคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 38 คน อัตราคนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 1900 บาท

-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 38 คน อัตราคนละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1900 บาท

ค่าวัสดุอุปกรณ์

-ค่าสมุดจดบันทึก จำนวน 38 เล่มๆละ 10 บาท เป็นเงิน 380 บาท

-ค่าปากกา จำนวน 38 ด้ามๆ ละ 5 บาท เป็นเงิน 190 บาท

-ค่ากระเป๋าใส่เอกสาร จำนวน 38 ใบๆละ 60 บาท เป็นเงิน 2280 บาท

-ค่าไวนิลโครงการ ขนาด 1.2X3.0 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 900 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตรการทางสังคมหรือมีกฎกติกาในชุมชน

 

38 0

2. 5. ติดตามเยี่ยมบ้านในกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลด ละ เลิกบุหรี่

วันที่ 1 มกราคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าตอบแทนให้กับอสม. จำนวน 12 คน ในการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมสูบบุหรี่/สูบใบจาก อัตราคนล่ะ 50 บาทต่อครั้ง จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 1800 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฎกติกาในชุมชน

 

12 0

3. 2.กิจกรรมชี้แจงและให้ความรู้ในการขับเคลื่อนการดำเนินงานบุหรี่

วันที่ 1 มกราคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 36 คน อัตราคนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 1800 บาท

-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 36 คน อัตราคนละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1800 บาท

ค่าวัสดุอุปกรณ์

-ค่าสมุดจดบันทึก จำนวน 36 เล่มๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 1800 บาท

-ค่าปากกา จำนวน 36 ด้ามๆละ 5 บาท เป็นเงิน 180 บาท

-ค่ากระเป๋าใส่เอกสาร จำนวน 36 ใบๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 2160 บาท

-ค่าป้ายโฟมบอร์ดเขตปลอดบุหรี่ในมัสยิด ขนาด 0.6 เมตร X 0.3 เมตร จำนวน 3 ป้ายๆละ 126 บาท เป็นเงิน 378 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฎกติกาในชุมชน

 

36 0

4. 3.กิจกรรมชี้แจงและให้ความรู้ในการขับเคลื่อนการดำเนินงานบุหรี่และยาเสพติดในโรงเรียน

วันที่ 1 มกราคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน อัตราคนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 3000 บาท

-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน อัตราคนละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3000 บาท

-ค่าวัสดุอุปกรณ์

-ค่าสมุดจดบันทึก จำนวน 60 เล่มๆละ 10 บาท เป็นเงิน 600 บาท

-ค่าปากกา จำนวน 60 ด้ามๆละ 5 บาท เป็นเงิน 300 บาท

-ค่ากระเป๋าใส่เอกสาร จำนวน 60ใบๆละ 60 บาท เป็นเงิน 3600 บาท

ค่าป้ายโฟมบอร์ดเขตปลอดบุหรี่ในโรงเรียนขนาด 0.6X0.3เมตร จำนวน 3 ป้ายๆละ 126 บาท เป็นเงิน 376 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฎกติกาในชุมชน

 

60 0

5. 4.กิจกรรมให้ความรู้เรื่องบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่ในชุมชน และตรวจคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปที่สูบบุหรี่/ใบจาก

วันที่ 1 มกราคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน อัตราคนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2500 บาท

-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน อัตราคนละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 2500 บาท

-ค่าวัสดุอุปกรณ์

-ค่าถ่ายเอกสารคู่มือสมุดบันทึกประจำตัว จำนวน 50 เล่มๆละ 30 บาท เป็นเงิน 1500 บาท

-ค่าปากกา จำนวน 50 ด้ามๆละ 5 บาท เป็นเงิน 250 บาท

-ค่ากระเป๋าใส่เอกสาร จำนวน 50 ใบๆละ 60 บาท เป็นเงิน 3000 บาท

รวมเป็นเงิน 9750 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือกฏกติกาในชุมชน

 

50 0

6. จัดเวทีถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน อัตราคนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2500 บาท

-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน อัตราคนละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 2500 บาท

-ค่าประกาศนียบัตรพร้อมกรอบ มอบให้บุคคลต้นแบบสำหรับคนที่สามารถเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ จำนวน 10 คน อัตราคนละ 250 บาท เป็นเงิน 2500 บาท

-ค่าไวนิลเวทีถอดบทเรียน ขนาด 1.2X3.0 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 900 บาท

รวมเป็นเงิน 8400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงานการคัดกรองและการบำบัดบุหรี่ของประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ในตำบลยาบี ปีงบประมาณ 2562 ผลการคัดกรอง 145 คน (5.29%) คนไม่เคยสูบ 90 คน (62.07%) คนที่เคยสูบแล้ว 21 คน (14.48%) คนที่สูบอยู่ปัจจุบัน 34 คน (23.45%) เข้าร่วมโครงการบุหรี่และเข้ารับการบำบัดรักษา 25 คน (73.53%) ปีงบประมาณ 2563 ผลการคัดกรอง 735 คน (27.32%) คนไม่เคยสูบ 575 คน (78.23%) คนที่เคยสูบแล้ว 52 คน (7.07%) คนที่สูบอยู่ปัจจุบัน 108 คน (14.69%) คนที่เข้าร่วมโครงการบุหรี่และรับการบำบัดรักษา 103 คน (95.37%) ปีงบประมาณ 2564 ผลการคัดกรอง 69 คน (2.52%) คนที่ไม่เคยสูบ 46 คน (66.67%) คนที่เคยสูบแล้ว 12 คน (17.39%) คนที่สูบอยู่ปัจจุบัน 11 คน (15.94%) คนที่เข้าร่วมโครงการบุหรี่และรับการบำบัดรักษา 6 คน (54.54%) ปีงบประมาณ 2565 ผลการคัดกรอง 2287 คน(86.04%) คนไม่เคยสูบ 1499 (65.54%) คนที่่เคยสูบแล้ว 136 คน(5.95%) คนที่สูบอยู่ปัจจุบัน 652 คน (28.5%) คนเข้าร่วมโครงการบุหรี่และรับการบำบัดรักษา 50 คน (100%) ผลการดำเนินงานเข้ารับการบำบัดรักษาบุหรี่ของประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ในตำบลยาบี ปีงบประมาณ 2562 คนเข้ารับการบำบัด 25 คน (73.53%) ให้คำปรึกษา 34 คน (100%) จ่ายยาชาชงหญ้าดอกขาว 20 คน (58.82%) ใช้มะนาว 14 คน (41.18%) ลดปริมาณ 11 คน เลิกสูบบุหรี่ 6 คน เท่าเดิม 17 คน ปีงบประมาณ 2563 คนเข้ารับการบำบัด 103 คน(95.37%) ให้คำปรึกษา 108 คน (100%) จ่ายยาชาชงหญ้าดอกขาว 32 คน (29.63%) ใช้มะนาว 53 คน (49.07%) ลดปริมาณ 24 คน เลิกบุหรี่ 12 คน เท่าเดิม 72 คน ปีงบประมาณ 2564 คนเข้ารับการบำบัด 6 คน (54.54%) ให้คำปรึกษา 11 คน (100%) จ่ายยาชาชงหญ้าดอกขาว 5 คน (45.45%) ใช้มะนาว 3 คน (27.27%) ลดปริมาณ 4 คน เลิกบุหรี่ 2 คน เท่าเดิม 5 คน ปีงบประมาณ 2565 คนเข้ารับการบำบัด 50 คน (100%) ให้คำปรึกษา 50 คน (100%) จ่ายยาชาชงหญ้าดอกขาว 26 คน (52.00%) ใช้มะนาว 18 คน (36.00%) ลดปริมาณ 17 คน (34.00%) เลิกบุหรี่ 5 คน (10.00%) เท่าเดิม 28 คน (56.00%)

ปัญหาและอุปสรรคในการแก้ไข 1.กลุ่มเสี่ยงที่เข้ารับการบำบัดมาไม่ต่อเนื่อง เนื่องจากทำงานไปเช้า-เย็นกลับ 2.กลุ่มเสี่ยงที่มีคะแนนประเมินอยู่ในระดับกลุ่มสีแดง การบำบัดต้องใช้เวลาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3.ในการจ่ายยาชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาว จะไม่ให้ทุกราย ให้เฉพาะคนที่ไม่มีความเสี่ยง 4.การคัดกรองกลุ่มเสี่ยงยังไม่ผ่านเกณฑ์

แนวทางในการแก้ไข 1.จนท.ติดตามโดยการโทร /อสม.ติดตามในชุมชนละแวกตนเอง 2.ให้กำลังใจ และนำกลุ่มครอบครัวมาบำบัด และติดตามอย่างต่อเนื่อง 3.ให้กำลังใจ และนำกลุ่มครอบครัวมาบำบัด และติดตามอย่างต่อเนื่อง 4.คัดกรองกลุ่มเสี่ยงให้ครอบคลุมในชุมชน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบุหรี่และโทษของพิษภัยบุหรี่ที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่ ร้อยละ 85
85.00 100.00

 

2 ๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลด ละ เลิก บุหรี่ได้
ตัวชี้วัด : 2.1 กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ร้อยละ 100 2.2 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลด ละ เลิก (ด้านบุหรี่ได้สำเร็จ) ร้อยละ 10
100.00 100.00

 

3 ๓. เพื่อให้มัสยิด วัด โรงเรียนเป็นสถานที่ปลอดเขตบุหรี่
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละของมัสยิด วัด โรงเรียน เป็นสถานที่ปลอดเขตบุหรี่ ร้อยละ 100
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 194 194
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60 60
กลุ่มวัยทำงาน 84 84
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบุหรี่และโทษของพิษภัยบุหรี่ที่ถูกต้อง (2) ๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลด ละ เลิก บุหรี่ได้ (3) ๓. เพื่อให้มัสยิด วัด โรงเรียนเป็นสถานที่ปลอดเขตบุหรี่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและพิษภัยของบุหรี่และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลด ละ เลิก บุหรี่ (2) 2.กิจกรรมชี้แจงและให้ความรู้ในการขับเคลื่อนการดำเนินงานบุหรี่ (3) 3.กิจกรรมชี้แจงและให้ความรู้ในการขับเคลื่อนการดำเนินงานบุหรี่และยาเสพติดในโรงเรียน (4) 4.กิจกรรมให้ความรู้เรื่องบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่ในชุมชน และตรวจคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปที่สูบบุหรี่/ใบจาก (5) 5. ติดตามเยี่ยมบ้านในกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลด ละ เลิกบุหรี่ (6) จัดเวทีถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2564

รหัสโครงการ 64-L3070-1-2 รหัสสัญญา 5/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

จากสถานการณ์ข้อมูลการคัดกรองบุหรี่ในกลุ่มประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ในจังหวัดปัตตานี ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561-2563 พบว่า ร้อยละของการคัดกรองบุหรี่ในกลุ่มประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 19.18,18.20,21.74 ตามลำดับ ในอำเภอหนองจิก ตั้งเเต่ปีงบประมาณ 2561-2563 พบว่า ร้อยละของการคัดกรองบุหรี่ในกลุ่มประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 5.30,13.88,16.39 ตามลำดับ ในพื้นที่ตำบลยาบี ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561-2563 พบว่า ร้อยละของการคัดกรองบุหรี่ในกลุ่มประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 6.96,5.29,26.39,ตามลำดับ (แหล่งข้อมูลจาก HDC จังหวัดปัตตานี ณ 18 ธันวาคม 2563) ซึ่งแนวโน้มการคัดกรองบุหรี่ในกลุ่มประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงวางไว้ และจากการสำรวจข้อมูลของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มารับยาจาก รพ.สต.ยาบี ทั้งหมด 45 ราย มีพฤติกรรมที่สูบบุหรี่/ใบจาก จำนวน 12 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.67%

แหล่งที่มาของข้อมูลจากการสำรวจในคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.ยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

1.ประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการ แก่ อสม.,แกนนำชุมชน/ผู้นำศาสนา,แกนนำครูและนักเรียน

2.ให้ความรู้เรื่องบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่ให้กับกลุ่มเสี่ยงที่มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่และใบจาก

3.ตรวจสุขภาพและคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มเป้าหมายประชาชนที่มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่และใบจาก

4.ติดตามเยี่ยมบ้านในกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลด ละ เลิกบุหรี่โดย อสม.ติดตามเดือนละ 1 ครั้ง

5.จัดเวทีถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้/คัดเลือกบุคคลต้นแบบด้านพฤติกรรมที่สามารถเลิกบุหรี่ได้สำเร็จ

6.สรุปและประเมินผลการจัดโครงการ

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

1.กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและพิษภัยของบุหรี่และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลด ละ เลิก
บุหรี่แก่อสม. จำนวน 38 คน
(กิจกรรมย่อย:สร้างแกนนำ อสม. หมู่บ้านละ 2 คน เพื่อติดตามเยี่ยมบ้านในกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลด ละ เลิกบุหรี่)

2.กิจกรรมชี้แจงและให้ความรู้ในการขับเคลื่อนการดำเนินงานบุหรี่ในชุมชน ร้านค้า และมัสยิด ให้กับกลุ่มผู้นำชุมชน และผู้นำศาสนา หมู่ละ 6 คน จำนวน 6 หมู่บ้าน จำนวน 36 คน (กิจกรรมย่อย: ติดตาม สำรวจร้านค้า/ร้านชำในชุมชน และสังเกตการณ์มัสยิดโดยผู้นำชุมชน และผู้นำศาสนา)

3.กิจกรรมชี้แจงและให้ความรู้ในการขับเคลื่อนการดำเนินงานบุหรี่และยาเสพติดในโรงเรียน ให้กับครูและนักเรียน จำนวน 3 แห่งๆละ 20 คน จำนวน 60 คน (กิจกรรมย่อย:สร้างแกนนำครู เพื่อสังเกตการณ์พร้อมเฝ้าระวังนักเรียนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงในการสูบบุหรี่และใช้ยาเสพติด โรงเรียนละ 2 คน) หมายเหตุ:โรงเรียน 3 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนบ้านคลองช้าง โรงเรียนบ้านยาบี และโรงเรียนยาบีบรรณวิทย์

4.กิจกรรมให้ความรู้เรื่องบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่ในชุมชน และตรวจคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปที่สูบบุหรี่/ใบจากจำนวน 50 คน

5.ติดตามเยี่ยมบ้านในกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลด ละ เลิกบุหรี่โดย อสม.จำนวน 12 คน (6 หมู่บ้านๆละ 2คน) ติดตาม เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 3 เดือน

6.จัดเวทีถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดย -แกนนำ อสม. จำนวน 12 คน - แกนนำครู จำนวน 6 คน -ผู้นำชุมชน/ผู้นำศาสนา จำนวน 12 คน -บุคคลต้นแบบ (คนที่เลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ) จำนวน 10 คน -เจ้าหน้าที่กองทุนฯ จำนวน 10 คน

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ
(คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตรการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

-

-

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

พักผ่อนให้เพียงพอ ทานอาหารให้เพียงพอและถูกสุขอนามัย ออกกำลังกายสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ติดต่อกับครอบครัวและเพื่อนฝูงอย่างต่อเนื่องอาจลองทำงานอดิเรกใหม่ ๆ ที่ไม่เคยทำมาก่อน

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ทานอาหารให้เพียงพอและถูกสุขลักษณะอนามัย

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ติดต่อกับครอบครัวและเพื่อนฝูงอย่างต่อเนื่องอาจลองทำงานอดิเรกใหม่ ๆ ที่ไม่เคยทำมาก่อน

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ติดต่อกับครอบครัวและเพื่อนฝูงอย่างต่อเนื่องอาจลองทำงานอดิเรกใหม่ ๆ ที่ไม่เคยทำมาก่อน

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

-

-

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

มีการตรวจสุขภาพและคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มเป้าหมายประชาชนที่มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่และใบจากจากเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ยาบี

คลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.ยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

-

-

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

-

-

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่าง รพ.สต.ยาบีผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปในตำบลยาบี

1.ปะชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

1.ประชุมชี้เเจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการ แก่อสม. แกนนำชุมชน/ผู้นำศาสนา แกนนำครูและนักเรียน

2.ให้ความรู้เรื่องบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่ให้กับกลุ่มเสี่ยงที่มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่และใบจาก

3.ตรวจสุขภาพและคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มเป้าหมายประชาชนที่มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่และใบจาก

4.ติดตามเยี่ยมบ้านในกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลด ละ เลิกบุหรี่โดยอสม.ติดตามเดือนละ 1 ครั้ง

5.จัดเวทีถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้/คัดเลือกบุคคลต้นแบบด้านพฤติกรรมที่สามารถเลิกบุหรี่ได้สำเร็จ

6.สรุปและประเมินผลการจัดโครงการ

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นเเบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

-

-

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

เป็นโครงการที่จะหาแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาสำหรับผู้ที่สูบบุหรี่หรือกลุ่มเสี่ยงที่จะมีโอกาสไปเป็นนักสูบบุหรี่รายใหม่ในเด็กและเยาวชน ประชาชนทั่วไป และเป็นการสนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุขข้อ10(1) ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

-

-

 

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2564 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3070-1-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปราณี สาแล๊ะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด