กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี


“ เด็กกะรุบี ฟันดี ทุกสถานที่เรียน ”

ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายพิสุทธิ์ อำนวยพาณิชย์

ชื่อโครงการ เด็กกะรุบี ฟันดี ทุกสถานที่เรียน

ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L2971-1-12 เลขที่ข้อตกลง 12/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"เด็กกะรุบี ฟันดี ทุกสถานที่เรียน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เด็กกะรุบี ฟันดี ทุกสถานที่เรียน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กในโรงเรียนตาดีกา เขตกะรุบี ได้รับการตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ (2) เพื่อให้เด็กในโรงเรียนประถม สามารถแปรงฟันหลังอาหารกลางวันได้อย่างมีคุณภาพ (3) เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.กะรุบี ได้รับการตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ในโรงเรียนอย่างมีคุณภาพ (2) กิจกรรมตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ให้แก่เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.กะรุบี (3) กิจกรรมตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ให้แก่เด็กในโรงเรียนตาดีกาเขตกะรุบี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากผลการสำรวจสภาวะช่องปากเด็กอายุ 3 ปี,6 ปี และ 12ปี ในตำบลกะรุบี พบว่าเด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุ คิดเป็นร้อยละ 52.38 มากกว่าค่าเฉลี่ยของจังหวัดปัตตานี ที่เด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 34.67 ส่วนเด็กอายุ 6 ปี ซึ่งเป็นช่วงอายุที่ฟันแท้ขึ้น ก็มีฟันแท้ผุคิดเป็นร้อยละ 19.23 ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของจังหวัดปัตตานี ที่เด็กอายุ 12 ปี มีฟันแท้ผุร้อยละ 9.18 สำหรับเด็กอายุ 12 ปี มีฟันแท้ผุร้อยละ 39.71 เช่นกัน จากสถานการณ์ข้างต้น พบว่ามีเด็กอายุ 4-12 ปี ในเขตกะรุบี ประมาณร้อยละ 50 เท่านั้น ที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนประถมศึกษา เขตกะรุบี ขณะที่อีกประมาณร้อยละ 50 ศึกษาอยู่ในโรงเรียนประถมศึกษาที่่ตำบลหรืออำเภออื่น เช่น อำเภอสายบุรี ทำให้เด็กกะรุบีที่เรียนนอกเขตกลุ่มนี้ อาจไม่ได้รับการดูแลสุขภาพฟันตามแนวทางที่เด็กกะรุบีคนอื่น ๆ ได้รับ แต่ทั้งนี้ เด็กที่เรียนนอกเขตกะรุบีกลุ่มนี้ ยังคงกลับเข้ามาเรียนที่โรงเรียนตาดีกา เขตกะรุบี ในวันเสาร์และวันอาทิตย์อยู่ ทางโรงพยาบาลกะพ้อจึงพิจารณาจะจัดส่งทันตแพทย์และ/หรือทันตภิบาล รวมถึงผู้ช่วยทันตแพทย์ ออกไปให้บริการฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุให้แก่เด็กที่ศึกษาที่โรงเรียนตาดีกา เขตกะรุบี เพื่อให้เด็กกะรุบีที่เรียนนอกเขตกล่มนี้ สามารถเข้าถึงบริการทันตกรรมขั้นพื้นฐานได้เช่นเดียวกับเด็กกะรุบีกลุ่มอื่น ๆ ตามแนวทางที่โรงพยาบาลกะพ้อได้วางไว้ และเพื่อให้เด็กกะรุบีกลุ่มนี้มีสุขภาพฟันที่แข็งแรงขึ้น มีฟันผุลดลง นอกจากนี้ จากการสำรวจเด็กที่ศึกษาที่โรงเรียนบ้านกะรุบี จำนวน 217 คน และโรงเรียนบ้านวังกะพ้อ (เพียรอนุสรณ์) จำนวน 188 คน พบว่าเด็กส่วนใหญ่ซึ่งเป็นเด็กกะรุบี ไม่ได้แปรงฟันเลย ทั้งในตอนเช้าและตอนเย็น ทางโรงพยาบาลกะพ้อ ร่วมกับโรงเรียนทั้งสองจึงจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันขึ้น เพื่อให้เด็กกะรุบีมีโอกาสได้แปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์บ้าง อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง แต่เนื่องจากข้อจำกัดด้านการเงินของผู้ปกครองเด็กและของโรงเรียน ทำให้เกิดความลำบากและขัดข้องในการจัดหาอุปกรณ์ ได้แก่ แปรงสีฟัน และยาสีฟัน เพื่อให้เด็กใช้สำหรับสนับสนุนจากทางงองค์การบริหารส่วนตำบลกะรุบี ในการจัดหาแปรงสีฟันและยาสีฟัน ให้เด็กกะรุบีใช้สำหรับแปรงฟันหลังอาหารกลางวันในโรงเรียนต่อไป สำหรับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.กะรุบี ซึ่งเป็นเด็กวัย 2-5 ขวบ ตามหลักฐานทางวิชาการ เด็กช่วงวัยนี้ยังไม่สามารถแปรงฟันด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ จำเป็นต้องให้ผู้ปกครองแปรงฟันให้เด็ก แต่ทว่าผู้ปกครองส่วนใหญ่มักให้เด็กแปรงฟันด้วยตนเอง ทางโรงพยาบาลกะพ้อจึงพิจารณาจะจัดกิจกรรมให้ความรู้การดูแลฟันของเด็กแก่ผู้ปกครอง และฝึกปฏิบัติผู้ปกครองแปรงฟันให้เด็ก เพื่อให้เด็กกะรุบีในช่วงวัยนี้ได้รับการดูแลฟันอย่างเหมาะสม รวมถึงจะจัดส่งทันตแพทย์และ/หรือทันตาภิบาล รวมถึงผู้ช่วยทันตแพทย์ ออกไปให้บริการตรวจฟัน และเคลือบฟลูออกไรด์ให้แก่เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กด้วย เพื่อให้เด็กกะรุบีกลุ่มนี้มีสุขภาพฟันที่แข็งแรงขึ้น และมีฟันผุลดลง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กในโรงเรียนตาดีกา เขตกะรุบี ได้รับการตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ
  2. เพื่อให้เด็กในโรงเรียนประถม สามารถแปรงฟันหลังอาหารกลางวันได้อย่างมีคุณภาพ
  3. เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.กะรุบี ได้รับการตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ในโรงเรียนอย่างมีคุณภาพ
  2. กิจกรรมตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ให้แก่เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.กะรุบี
  3. กิจกรรมตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ให้แก่เด็กในโรงเรียนตาดีกาเขตกะรุบี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 83
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 620
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กในโรงเรียนตาดีกา เขตกะรุบี ร้อยละ 80 ได้รับการตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ 2.เด็กในโรงเรียนประถมศึกษา เขตกะรุบี ร้อยละ 80 สามารถแปรงฟันหลังอาหารกลางวันอย่างมีคุณภาพ 3.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.กะรุบี ร้อยละ 80 ได้รับการตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ในโรงเรียนอย่างมีคุณภาพ

วันที่ 19 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมในโรงเรียนประถมศึกษา เขตกะรุบี จำนวน 2 แห่ง 1. ทางองค์การบริหารส่วนตำบลกะรุบี ส่งมอบแปรงสีฟัน และยาสีฟัน ให้แก่เด็กนักเรียน ในโรงเรียนบ้านกะรุบี และโรงเรียนบ้านวังกะพ้อ (เพียรอนุสรณ์) 2. โรงพยาบาลกะพ้อร่วมกับครูอนามัย ของโรงเรียนบ้านกะรุบี และโรงเรียนบ้านวังกะพ้อ (เพียรอนุสรณ์) ดำเนินกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ทุกวันที่เปิดเรียน 3. ทันตาภิบาล จากโรงพยาบาลกะพ้อ ลงนิเทศหน้างาน เพื่อติดตามการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน เดือนละ 1 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กในโรงเรียนประถมศึกษา เขตกะรุบี ร้อยละ 96.43 สามารถแปรงฟันหลังอาหารกลางวันอย่างมีคุณภาพ

 

420 0

2. กิจกรรมตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ให้แก่เด็กในโรงเรียนตาดีกาเขตกะรุบี

วันที่ 20 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมในโรงเรียนตาดีกา เขตกะรุบี จำนวน 6 แห่ง 1. ประสานกับประธานศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (โรงเรียนตาดีกา) ถึงวันและเวลาที่จะเข้าไปตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุให้แก่เด็ก 2. ดำเนินการตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ให้แก่เด็ก ปีละ 1 ครั้ง ในวันเสาร์ และวันอาทิตย์
3. จัดทำรายงานสภาวะช่องปากของเด็กในโรงเรียนตาดีกา ส่งคืนให้แก่ประธานศูนย์ฯ และทางองค์การบริหารส่วนตำบลกะรุบี ในช่วงปลายปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กในโรงเรียนตาดีกา เขตกะรุบี ร้อยละ 99.5 ได้รับการตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ

 

200 0

3. กิจกรรมตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ให้แก่เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.กะรุบี

วันที่ 1 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.กะรุบี 1. ประสานกับหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ถึงวันและเวลาที่จะเข้าไปตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ให้แก่เด็ก 2. ดำเนินการตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ให้แก่เด็ก ปีละ 2 ครั้ง ในวันจันทร์-วันศุกร์ 3. จัดทำรายงานสภาวะช่องปากของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กส่งคืนให้แก่หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และทางองค์การบริหารส่วนตำบลกะรุบี ในช่วงปลายปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.กะรุบี ร้อยละ 100 ได้รับการตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ

 

83 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กในโรงเรียนตาดีกา เขตกะรุบี ได้รับการตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กในโรงเรียนตาดีกา เขตกะรุบี ได้รับการตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ
80.00 99.50

 

2 เพื่อให้เด็กในโรงเรียนประถม สามารถแปรงฟันหลังอาหารกลางวันได้อย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 เด็กในโรงเรียนประถม มีการแปรงฟันหลังอาหาร
80.00 96.43

 

3 เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.กะรุบี ได้รับการตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.กะรุบี ได้รับการตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 703 687
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 83 83
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 620 604
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กในโรงเรียนตาดีกา เขตกะรุบี ได้รับการตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ (2) เพื่อให้เด็กในโรงเรียนประถม สามารถแปรงฟันหลังอาหารกลางวันได้อย่างมีคุณภาพ (3) เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.กะรุบี ได้รับการตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ในโรงเรียนอย่างมีคุณภาพ (2) กิจกรรมตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ให้แก่เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.กะรุบี (3) กิจกรรมตรวจฟัน และเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ให้แก่เด็กในโรงเรียนตาดีกาเขตกะรุบี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ
  1. เด็กบางคนไม่ได้ไปโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในวันที่ทำกิจกรรม และเด็กบางคนขาดเรียนเป็นระยะเวลานาน
  2. จากสถานการณ์ COVID-19 ที่กลับมาระบาดอีกครั้ง ทำให้ต้องเลื่อนการเปิดเทอมออกไป รวมถึงมีการปรับรูปแบบการเรียน ทำให้เด็กไม่ได้ไปเรียนที่โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตามเดิม ซึ่งส่งผลกระทบต่อรูปแบบ และระยะเวลาในการจัดกิจกรรม

 

  1. แจ้งวันที่จะทำกิจกรรมให้ผู้ปกครองทราบล่วงหน้า เพื่อให้นำเด็กมาโดยพร้อมเพรียงกัน, สำหรับเด็กที่ขาดเรียนในวันที่ทำกิจกรรม ได้จัด ทันตบุคลากรกลับไปทำกิจกรรมให้เด็กเหล่านั้นซ้ำอีกครั้ง, สำหรับเด็กที่ขาดเรียนเป็นระยะเวลานาน ได้ประสานกับผู้ปกครอง เพื่อให้พิจารณาว่าจะพาเด็กมารับบริการที่โรงพยาบาลเอง หรือให้ไปให้บริการถึงที่บ้าน
  2. เลื่อนระยะเวลาการจัดกิจกรรมให้เร็วขึ้น โดยเริ่มจัดตั้งแต่ปลายภาคเรียนที่ 1 และสำหรับเด็กบางส่วนที่ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ทัน ได้มีการปรับรูปแบบการจัดกิจกรรมดังนี้: สำหรับโรงเรียนตาดีกา ในระยะแรก ยังคงไปทำกิจกรรมที่โรงเรียนตาดีกา ในวันเสาร์-อาทิตย์ ตามกำหนดการเดิม แต่ในระยะหลัง เนื่องจากเด็กที่ไปเรียนที่ต่างอำเภอ ในวันจันทร์-ศุกร์ จำเป็นต้องกลับมาอยู่ที่บ้าน ไม่สามารถไปเรียนได้ตามปกติ จึงปรับให้ทันตบุคลากรไปให้บริการถึงที่หมู่บ้านในวันจันทร์-ศุกร์ แทนการไปให้บริการในวันเสาร์-อาทิตย์, สำหรับโรงเรียนประถมศึกษา เนื่องจากมีระยะเวลาติดตามการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันค่อนข้างน้อย จึงปรับให้ทันตบุคลากรออกไปให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพช่องปากถึงที่หมู่บ้านด้วย, สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้จัดทันตบุคลากรไปทำกิจกรรมซ้ำถึงที่หมู่บ้าน ให้แก่เด็กที่ไม่สามารถมาร่วมกิจกรรมที่ ศพด. ได้

ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ เด็กกะรุบี ฟันดี ทุกสถานที่เรียน

รหัสโครงการ 64-L2971-1-12 รหัสสัญญา 12/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 ธันวาคม 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

เด็กกะรุบี ฟันดี ทุกสถานที่เรียน จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L2971-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพิสุทธิ์ อำนวยพาณิชย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด