กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้


“ โครงการอาหารสะอาด ปลอดภัยได้มาตรฐาน สู่รั้วตลาดซุ้มหลวงเสด็จ ”

ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนิษฐา คงทอง

ชื่อโครงการ โครงการอาหารสะอาด ปลอดภัยได้มาตรฐาน สู่รั้วตลาดซุ้มหลวงเสด็จ

ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L8402-2-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารสะอาด ปลอดภัยได้มาตรฐาน สู่รั้วตลาดซุ้มหลวงเสด็จ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารสะอาด ปลอดภัยได้มาตรฐาน สู่รั้วตลาดซุ้มหลวงเสด็จ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารสะอาด ปลอดภัยได้มาตรฐาน สู่รั้วตลาดซุ้มหลวงเสด็จ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L8402-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันได้มีการให้ความสำคัญเรื่องอาหารปลอดภัยมากขึ้น และได้มีการนำไปเป็นนโยบายสำคัญในระดับประเทศ เนื่องด้วย“อาหาร”เป็นหนึ่งในปัจจัยที่สำคัญต่อการดำรงชีวิต การบริโภคอาหารเพื่อให้ร่างกายเจริญเติบโตและสามารถดำรงอยู่โดยปกติสุขดังนั้นการบริโภคอาหารจึงควรต้องพิจารณาด้านความสะอาด ปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรคและการปนเปื้อน ด้วยอาหารอาจเป็นพาหะหรือตัวนำอันตรายที่เรามองไม่เห็นเข้าสู่ร่างกาย พิษภัยที่เกิดขึ้นอาจเป็นเพียงแค่คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย แล้วก็หายไปในระยะเวลาสั้นๆแต่บางกรณีอาจมีอาการรุนแรงและเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ หรืออาจเกิดการสะสมของสารพิษจนเกิดการเจ็บป่วยได้ในอนาคต ซึ่งการเจ็บป่วยแต่ละครั้งมีผลกระทบต่อร่างกายและเศรษฐกิจทั้งของรัฐและผู้ป่วย โดยรัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายต่างๆในการรักษาพยาบาล โรคระบบทางเดินอาหารอันเกิดจากอาหารเป็นพิษนั้นสามารถป้องกันได้ เนื่องจากสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่มีการปนเปื้อนของเชื้อโรคหรือสารที่เป็นอันตราย ซึ่งหากรู้จักเลือกรับประทานอาหาร ก็สามารถป้องกันตนเองให้ปลอดภัยได้ทางหนึ่ง ปัญหาความไม่ปลอดภัยจากการรับประทานอาหารเกิดได้จากหลายสาเหตุ โดยอาจแบ่งได้ดังนี้ 1)การเกิดอาหารเป็นพิษเนื่องจากเชื้อจุลินทรีย์ 2)การเกิดสารประกอบที่เป็นอันตรายจากการผลิตหรือปรุงอาหาร 3)การใช้วัตถุเจือปนอาหารผิดวัตถุประสงค์ หรือปริมาณไม่เหมาะสม ซึ่งหากได้มีการให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องแก่ผู้ที่มีหน้าที่ในการจัดเตรียมและประกอบอาหาร การสร้างทัศนคติที่ดี และหากมีการตรวจประเมินร้านและแผงจำหน่ายอาหารอย่างต่อเนื่อง ก็สามารถที่จะลดจำนวนและแก้ไขปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหาร รวมถึงการยกระดับร้านและแผงจำหน่ายอาหารให้เกิดความปลอดภัยในการบริโภค สะอาดถูกสุขลักษณะได้มาตรฐาน ทั้งยังเป็นการสร้างชื่อเสียงแก่ตำบล ดังนั้น เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสุขภาพผู้บริโภคด้านอาหารให้ได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย และพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบกิจการแผงจำหน่ายอาหาร พร้อมทั้งยกระดับมาตรฐานของร้านและแผงจำหน่ายอาหาร จึงต้องมีการให้ความรู้ สร้างทัศนคติ ปลูกฝั่งจิตสำนึกที่ดีแก่ผู้ประกอบการ รวมถึงพัฒนาแผงจำหน่ายอาหารในตลาดซุ้มหลวงเสด็จให้ถูกตามหลักสุขาภิบาล อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่ที่ 2 จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาข้างต้น อีกทั้งเพื่อเป็นการยกระดับมาตรฐานแผงจำหน่ายอาหารในพื้นที่ตลาดซุ้มหลวงเสด็จให้มีคุณภาพ เกิดความปลอดภัยในการบริโภค และสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้บริโภค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสุขภาพผู้บริโภคด้านอาหารให้ได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบกิจการแผงจำหน่ายอาหาร ในเขตพื้นที่ตลาดซุ้มหลวงเสด็จให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามหลักสุรับประทานอาหารที่ปลอดภัยขาภิบาลอาหาร
  3. เพื่อป้องกันและระงับโรคติดต่อระบบทางเดินอาหาร จากร้านและแผงจำหน่ายอาหาร ในเขตพื้นที่ตำบลคูหาใต้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 108
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ประกอบกิจการแผงจำหน่ายอาหารมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
    2. ผู้ประกอบกิจการแผงจำหน่ายอาหารมีทัศนคติที่ดีต่อเรื่องสุขาภิบาลอาหาร
    3. ผู้บริโภคได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย การเจ็บป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหารลดลง และไม่ผู้ป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงอย่างแรง และอหิวาตกโรค ที่เกิดจากการได้รับเชื้อในพื้นที่ตำบลคูหาใต้
    4. ผู้บริโภคมีความมั่นใจในการบริโภคอาหารในร้านที่ผ่านเกณฑ์ และสร้างชื่อเสียงแก่ตำบลคูหาใต้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท

    วันที่ 7 ธันวาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดอบรม อสม.ในการให้ความเรื่องการตรวจ Ecoli ในภาชนะในอาหาร และมือที่สัมผัสอาหาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้จัดอบรม อสม.ในการให้ความเรื่องการตรวจ Ecoli ในภาชนะในอาหาร และมือที่สัมผัสอาหาร

     

    0 0

    2. ค่าอาหารว่างและค่าเครื่องดื่ม จำนวน 20 ชิ้นๆละ 25 บาท

    วันที่ 7 ธันวาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    อาหารว่างในการจัดอบรม  อสม.ในการให้ความเรื่องการตรวจ Ecoli ในภาชนะในอาหาร และมือที่สัมผัสอาหาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อาหารว่างในการจัดอบรม  อสม.ในการให้ความเรื่องการตรวจ Ecoli ในภาชนะในอาหาร และมือที่สัมผัสอาหาร

     

    0 0

    3. ค่าไวนิล สื่อประชาสัมพันธ์โครงการฯ ขนาด 1.2x2.4 เมตร จำนวน 1 ผืนๆละ 600 บาท

    วันที่ 7 ธันวาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    การประชาสัมพันธ์โครงการอาหารสะอาด ปลอดภัย ได้มาตรฐานสู่รั้วตลาดซุ้มหลวงเสด็จ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การประชาสัมพันธ์โครงการอาหารสะอาด ปลอดภัย ได้มาตรฐานสู่รั้วตลาดซุ้มหลวงเสด็จ

     

    0 0

    4. ค่าจัดซื้อชุดตรวจสารปนเปื้อน (Ecoli) จำนวน 24 ชุดๆละ 950 บาท

    วันที่ 7 ธันวาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    การตรวจสอบสารปนเปื้อน (Ecoli) ในตลาดซุ้มหลวงเสด็จ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การตรวจสอบสารปนเปื้อน (Ecoli) ในตลาดซุ้มหลวงเสด็จ

     

    0 0

    5. ค่าจัดซื้อแอลกอฮอล์ 70 % จำนวน 4 ขวดๆละ 65 บาท

    วันที่ 7 ธันวาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    การจัดซื้อแอลกอล์ฮอล์เพื่อใช้ในการตรวจตลาดซุ้มหลวงเสด็จ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การจัดซื้อแอลกอล์ฮอล์เพื่อใช้ในการตรวจตลาดซุ้มหลวงเสด็จ

     

    0 0

    6. ค่าไม้พันสำลีฆ่าเชื้อ จำนวน 12 ห่อๆละ 50 บาท

    วันที่ 7 ธันวาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    ค่าไม้พันสำลีฆ่าเชื้อ เพื่อใช้ในการตรวจ (Ecoli) ณ ตลาดซุ้มหลวงเสด็จ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ค่าไม้พันสำลีฆ่าเชื้อ เพื่อใช้ในการตรวจ (Ecoli) ณ ตลาดซุ้มหลวงเสด็จ

     

    0 0

    7. ตะเกียงแอลฮอล์ จำนวน 2 อันๆละ 145 บาท

    วันที่ 7 ธันวาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    ตะเกียงแอลกอฮอล์ เพื่อใช้ในการตรวจ (Ecoli) ณ ตลาดซุ้มหลวงเสด็จ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตะเกียงแอลกอฮอล์ เพื่อใช้ในการตรวจ (Ecoli) ณ ตลาดซุ้มหลวงเสด็จ

     

    0 0

    8. แผ่นผับประชาสัมพันธ์และให้สุขศึกษา จำนวน 250 แผ่นๆละ 1 บาท

    วันที่ 7 ธันวาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    การให้สุขศึกษา โดยการความรู้เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การให้สุขศึกษา โดยการความรู้เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหาร

     

    0 0

    9. ค่าจัดทำรายงาน

    วันที่ 7 ธันวาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    การจัดทำรายงานผล เพื่อใช้ในการเสนอรายงานการดำเนินงานตามโครงการอาหารสะอาด ปลอดภัยได้มาตรฐาน สู่รั้วตลาดซุ้มหลวงเสด็จ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การจัดทำรายงานผล เพื่อใช้ในการเสนอรายงานการดำเนินงานตามโครงการอาหารสะอาด ปลอดภัยได้มาตรฐาน สู่รั้วตลาดซุ้มหลวงเสด็จ

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลการดำเนินงานโครงการอาหารสะอาด ปลอดภัยได้มาตรฐาน สู่รั้วตลาดซุ้มหลวงเสด็จ โดยการลงพื้นที่ตลาดซุ้มหลวงเสด็จ เพื่อตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร โดยการตรวจภาชนะใส่อาหาร มือที่สัมผัสอาหาร เพื่อตรวจหาเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย โดยมีการดำเนินการลงพื้นที่ตรวจทั้งหมด 2 ครั้ง 1.1 ในการลงพื้นที่ตลาดซุ้มหลวงเสด็จเพื่อดำเนินการตรวจครั้งที่ 1 พร้อมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนขัน, เจ้าหน้าที่จากเทศบาลตำบลคูหาใต้ และอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตพื้นที่ โดยการซุ่มตรวจหาเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย จำนวน 30 ร้าน โดยการซุ่มตรวจภาชนะใส่อาหาร มือที่สัมผัสอาหาร ซึ่งพบว่า มีสารปนเปื้อนโคลิฟอร์มแบคทีเรีย จำนวน 3 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 10 ของจำนวนร้านทั้งหมด
    1.2 ในการลงพื้นที่ตลาดซุ้มหลวงเสด็จเพื่อดำเนินการตรวจครั้งที่ 2 โดยมีระยะเวลาห่างจากครั้งแรก 2 เดือน พร้อมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนขัน, เจ้าหน้าที่จากเทศบาลตำบลคูหาใต้ และอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตพื้นที่ โดยการซุ่มตรวจหาเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย จำนวน 30 ร้าน โดยการซุ่มตรวจภาชนะใส่อาหาร มือที่สัมผัสอาหาร ซึ่งพบว่า ไม่มีสารปนเปื้อนโคลิฟอร์มแบคทีเรียในร้านค้า คิดเป็นร้อยละ 0 ของจำนวนร้านทั้งหมด

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสุขภาพผู้บริโภคด้านอาหารให้ได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
    90.00 90.00

    มีอาหารที่ปลอดภัย

    2 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบกิจการแผงจำหน่ายอาหาร ในเขตพื้นที่ตลาดซุ้มหลวงเสด็จให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามหลักสุรับประทานอาหารที่ปลอดภัยขาภิบาลอาหาร
    ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบกิจการแผงจำหน่ายอาหารมีทัศนคติ (Attitude) ที่ดีในเรื่องสุขาภิบาลอาหารไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    80.00 80.00

    ผู้ประกอบการมีความรู้เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหาร

    3 เพื่อป้องกันและระงับโรคติดต่อระบบทางเดินอาหาร จากร้านและแผงจำหน่ายอาหาร ในเขตพื้นที่ตำบลคูหาใต้
    ตัวชี้วัด : มีการตรวจพบสารปนเปื้อน (Ecoli) ไม่เกินร้อยละ 10 ของตัวอย่างทั้งหมดที่ได้ดำเนินการสุ่มตรวจ
    10.00 10.00

    มีการป้องกันโรคติดต่อที่อาจเกิดจากอาหาร

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 108
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 108
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสุขภาพผู้บริโภคด้านอาหารให้ได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบกิจการแผงจำหน่ายอาหาร ในเขตพื้นที่ตลาดซุ้มหลวงเสด็จให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามหลักสุรับประทานอาหารที่ปลอดภัยขาภิบาลอาหาร (3) เพื่อป้องกันและระงับโรคติดต่อระบบทางเดินอาหาร จากร้านและแผงจำหน่ายอาหาร ในเขตพื้นที่ตำบลคูหาใต้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการอาหารสะอาด ปลอดภัยได้มาตรฐาน สู่รั้วตลาดซุ้มหลวงเสด็จ

    รหัสโครงการ 60-L8402-2-12 ระยะเวลาโครงการ 1 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการอาหารสะอาด ปลอดภัยได้มาตรฐาน สู่รั้วตลาดซุ้มหลวงเสด็จ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L8402-2-12

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวนิษฐา คงทอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด