กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธาตุน้อย


“ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโดยการปลูกพืชผักสวนครัวในโรงเรียนและในชุมชน ตำบลธาตุน้อย ”

ตำบลธาตุน้อย อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านธาตุน้อย

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโดยการปลูกพืชผักสวนครัวในโรงเรียนและในชุมชน ตำบลธาตุน้อย

ที่อยู่ ตำบลธาตุน้อย อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัด อุบลราชธานี

รหัสโครงการ L6597 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโดยการปลูกพืชผักสวนครัวในโรงเรียนและในชุมชน ตำบลธาตุน้อย จังหวัดอุบลราชธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลธาตุน้อย อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธาตุน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโดยการปลูกพืชผักสวนครัวในโรงเรียนและในชุมชน ตำบลธาตุน้อย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโดยการปลูกพืชผักสวนครัวในโรงเรียนและในชุมชน ตำบลธาตุน้อย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลธาตุน้อย อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี รหัสโครงการ L6597 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธาตุน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การขาดกิจกรรมทางกายส่งผลให้เกิดการเสียชีวิต 3.2 ล้านคนต่อปี ของทั้งโลก โดยคนไทยมีอัตราการเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ถึงร้อยละ 71 ของการเสียชีวิตทั้งหมด โดยการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิต 11,129 ราย และก่อภาระค่าใช้จ่าย ทางสุขภาพ มีข้อแนะนำการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ ที่แตกต่างกัน ได้แก่ เด็กปฐมวัย (0 - 5 ปี) ควรมีกิจกรรมทางกายที่หลากหลาย อย่างน้อย 180 นาทีต่อวัน เด็กและวัยรุ่น (6 - 17 ปี) ควรมีกิจกรรมทางกายระดับปานกลางถึงหนัก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน แต่สภาพปัจจุบัน เด็กนักเรียนไม่ค่อยเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายเท่าที่ควร ขาดการเอาใจใส่ดูแล ร่างกาย ขาดการมีกิจกรรมทางกาย มีกิจกรรมที่ใช้พลังงานต่ำ ที่เรียกว่า “พฤติกรรมเนือยนิ่ง (Sedentary Behaviour)” เช่น การนั่งเล่นโทรศัพท์มือถือ การใช้คอมพิวเตอร์ การนั่งคุยกับเพื่อน การนั่ง หรือนอนดูโทรทัศน์ ที่ไม่รวมการนอนหลับ มีแนวโน้มที่มีพฤติกรรมเนือยนิ่งมากขึ้น โดยควร ลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง ด้วยการลุกขึ้นเดินไปมาหรือยืดเหยียดร่างกาย ทุก 1 ชั่วโมง และในเด็กปฐมวัย วัยเด็ก และวัยรุ่น ควรจำกัดการใช้คอมพิวเตอร์ นั่งดูทีวี หรือเล่นโทรศัพท์มือถือ ในแต่ละวัน ไม่มีการวิ่งเล่น การละเล่นเหมือนสมัยก่อน ตลอดจนปัญหาเรื่องของปัญหาพฤติกรรมการกิน และรูปแบบการใช้ชีวิตที่เร่งรีบอันนำมาสู่โรคอ้วนและโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆจึงทำให้ร่างกายไม่แข็งแรง และมีน้ำหนักตัวมากเกินไป ก่อให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ตลอดเวลา มีภาวะเสี่ยงต่อโรคอ้วน ตลอดจนโรคไข้หวัดเรื้อรังซึ่งมีผลต่อสุขภาพร่างกาย จึงมีความจำเป็นในการส่งเสริมสุขภาพของเด็กนักเรียน เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมกิจกรรมทางกาย การให้ความรู้เกี่ยวกับภาวโภชนาการส่งเสริมให้เห็นความสำคัญการบริโภคผักและผลไม้วันละไม่น้อยกว่า 400 กรัม หรือ 5 ทัพพี การจัดกิจกรรมการปลูกและดูแลผักจะพัฒนาศักยภาพนักเรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมกับวัย เพื่อให้นักเรียนมีร่างกายที่แข็งแรงและมีน้ำหนักและส่วนสูงสมวัยตามเกณฑ์อายุ การทำสวนจัดเป็นหนึ่งในกิจกรรมที่ช่วยให้เราได้เคลื่อนไหวร่างกายพร้อมกับสูดอากาศสดชื่น ผลการวิจัยหนึ่งพบว่าการทำสวนเป็นเวลา 12 สัปดาห์ช่วยให้ระบบภูมิคุ้มกันทำงานได้ดีขึ้น เพิ่มความแข็งแรงและความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ รวมทั้งช่วยลดความดันโลหิตและระดับคอเลสเตอรอลได้

การทำสวนเป็นเหมือนการออกกำลังกายแบบแอโรบิก (Aerobic Exercise) แบบหนึ่งที่ทำให้ร่างกายหายใจเอาออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายเพื่อเผาผลาญพลังงาน โดยการทำสวนในบ้าน เช่น การตัดเล็มกิ่งไม้ รดน้ำต้นไม้ การตัดหญ้าโดยใช้เครื่องตัดหญ้า และการกวาดใบไม้ จัดเป็นการออกกำลังกายในระดับปานกลาง (Moderate Intensity) ที่ไม่หนักจนเกินไป และเหมาะกับคนทุกช่วงวัย เสริมสร้างความแข็งแรงของหัวใจ

การทำสวนเป็นกิจกรรมหนึ่งในการออกกำลังกายแบบแอโรบิกที่ช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด ลดความดันโลหิต ป้องกันความเสี่ยงของโรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง สมาคมโรคหัวใจสหรัฐอเมริกา (American Heart Association) จึงแนะนำให้คนทั่วไปออกกำลังกายแบบความหนักปานกลางเป็นเวลา 150 นาทีต่อสัปดาห์ เพื่อสุขภาพร่างกายและสุขภาพหัวใจที่แข็งแรง ช่วยในการทำงานของสมอง

การใช้เวลาอยู่กับต้นไม้และพืชพรรณต่าง ๆ ในสวนมีส่วนช่วยพัฒนาการทำงานของสมองและช่วยเสริมสร้างความจำให้ดีขึ้น โดยมีงานวิจัยระบุว่า การทำสวนวันละ 20 นาทีเป็นประจำอาจช่วยเพิ่มปัจจัยช่วยเซลล์ระบบประสาทเติบโต (Brain Nerve Growth Factors)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
  2. เพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูฯย์เด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การสร้างความรู้ ความเข้าใจ จัดการความรู้และนวัตกรรม และการสื่อสาร
  2. สร้างแกนนำนักเรียน
  3. กิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัว
  4. ติดตามประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 951
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มอายุ 5-11 ปี ที่ยังมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ 530

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
  2. นักเรียนมีผักปลอดภัยบริโภค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) เป้าหมายผู้ที่มีกิจกรรมทางกายยังไม่เพียงพอ 530 คน เป้าหมายภายใน 1 ปี อย่างน้อย 318 คน
43.22 60.00

 

2 เพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูฯย์เด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเวลาในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning) กิจกรรมการเรียนการสอน ในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในตำบล มีจำนวนทั้งสิ้น.1400.ชั่วโมง เดิมมีกิจกรรมการสอน Active play Active learning 400 ชั่วโมง ควรเพิ่มอย่างน้อยเป็น 700 ชั่วโมง
36.21 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1481
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 951
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
กลุ่มอายุ 5-11 ปี ที่ยังมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ 530

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูฯย์เด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การสร้างความรู้ ความเข้าใจ จัดการความรู้และนวัตกรรม และการสื่อสาร (2) สร้างแกนนำนักเรียน (3) กิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัว (4) ติดตามประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโดยการปลูกพืชผักสวนครัวในโรงเรียนและในชุมชน ตำบลธาตุน้อย จังหวัด อุบลราชธานี

รหัสโครงการ L6597

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงเรียนบ้านธาตุน้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด