กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ


“ โครงการทันตกรรมเชิงรุก SMART Children ประจำปีการศึกษา 2561 ”

ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายศักดิ์ตะวัน สันเกาะ

ชื่อโครงการ โครงการทันตกรรมเชิงรุก SMART Children ประจำปีการศึกษา 2561

ที่อยู่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5282-3-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการทันตกรรมเชิงรุก SMART Children ประจำปีการศึกษา 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการทันตกรรมเชิงรุก SMART Children ประจำปีการศึกษา 2561



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

(1) เพื่อบริการทันตกรรมให้แก่เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน

(2) เพื่อหยุดการลุกลามของภาวะฟันผุ ในเด็กปฐมวัย

(3) เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

(1) กิจกรรมตรวจฟันเด็กปฐมวัย

(2) กิจกรรมให้บริการทันตกรรมแก่เด็กปฐมวัย

ผลการดำเนินงานในภาพรวมพบว่าเด้กปฐมวัยที่ได้รับการบริการทันตกรรมเชิงรุก SMART TECHNIQUE จำนวน 160 คน จากเด็กจำนวน 206 คน คิดเป็นร้อยละ 77.67 และจำนวนเด้กที่มีฟันกรามหลังผุสามารถอุดได้ จำนวน 97 คน คิดเป็นร้อยละ 47.09 หากจำแนกเป็นศูนย์ พบว่า เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านผัง 120 ได้รับการบริการทันทันตกรรมเชิงรุก SMART TECHNIQUE จำนวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 83.67 รองลงมาเป็นศูนย์พัฒนาเด้กเล็กบ้านอุใดเหนือ จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดอุใดใต้ จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 78.57 ศูนย์พัฒนาเด้กเล็กบ้านอุใดเหนือ จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 3 จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 77.27 และศูนย์พัฒนาเด้กเล็กตำบลอุใดเจริญ จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 ตามลำดับ

ข้อเสนอแนะ /ไม่มี

ปัญหา/อุปสรรค  / มี

  1. ผู้ปกครองบางท่านไม่อนุญาติให้ทำกิจกรรม จำนวน 12 ราย

  2. มีผู้ปกครองบาง่ทานไม่นำเอกสารมาคืนครูผู้ดูแลเด็กประจำศูนย์ฯ ทำให้ไม่สามารถดำเนินการให้บริการทางทันตกรรมได้

  3. เด็กปฐมวัยบางรายไม่ได้มาตามกำหนดทำให้ไม่ได้รับบริการทางทันตกรรม

แนวทางการแก้ไข

  1. ก่อนการกรอกแบบขออนุญาต ต้องเพิ่มกิจกรรมให้เข้าใจและอธิบายให้ผู้ปกครองถึงขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม ให้ผู้ปกครองเข้าใจถึงวิธีการอุดฟันด้วย SMART TECHNIQUE และผลดี ผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับเด็กปฐมวัย

  2. การกรอกแบบขออนุญาตให้ผู้ผู้ปกครองกรอกที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและส่งคืนครูผู้ดูแลเด็กในทันทีเพื่อป้องกันการลืมส่งเอกสาร

  3. กำชับและเตือนกำหนดการให้ผู้ปกครองทราบล่วงหน้าก่อนการดำเนินกิจกรรม

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สืบเนื่องจากองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ ได้ดำเนินงานร่วมกับโรงพยาบาลควนกาหลง ในการดำเนินงานโครงการ “รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี” เป็นประจำทุกปี และในปี 2561 นี้ เป็นปีที่ 5 สำหรับการดำเนินงานโครงการ ตลอดระยะ 4 ปีที่ผ่านมา (ตั้งแต่ปี 2557 - 2560) พบว่าเด็กปฐมวัยมีภาวะฟันน้ำนมผุ จำเป็นต้องได้รับบริการด้าน ทันตกรรมอย่างเร่งด่วน เพื่อป้องกันการผุลุกลาม ประกอบกับผลสำรวจของกลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลควนกาหลง ในปี พ.ศ. 2560 ในภาพรวมของอำเภอควนกาหลง พบว่า เด็กเริ่มมีฟันผุตั้งแต่ฟันน้ำนมเริ่มขึ้น โดยกลุ่มเด็กอายุ 18 เดือน (1.5 ปี) พบฟันผุร้อยละ 19.44 (ปราศจากฟันผุร้อยละ 80.56) และเมื่อเด็กอายุ 3 ปี ผลการสำรวจ พบว่า การผุของฟันเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 67.43 (ปราศจากฟันผุร้อยละ 32.57) สำหรับในพื้นที่ตำบลอุใดเจริญพบฟันผุในเด็กอายุ 3 ปี ร้อยละ 51.52 (ปราศจากฟันผุร้อยละ 48.48) สำหรับโรงพยาบาลควนกาหลง ได้รับการจัดสรรงบประมาณในการให้บริการทันตกรรมแก่เด็กปฐมวัยในอำเภอควนกาหลงเป็นประจำทุกปี แต่มีข้อจำกัดเรื่องงบประมาณ ปกติจะออกให้บริการทันตกรรมสำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้เพียงปีละ 1 แห่งเท่านั้น ซึ่งในพื้นที่อำเภอควนกาหลงมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัด อปท. รวมทั้งสิ้น 22 แห่ง จำแนกเป็น 1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตตำบลทุ่งนุ้ยจำนวน7แห่ง 2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตตำบลควนกาหลงจำนวน10แห่ง 3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตตำบลอุใดเจริญจำนวน5แห่ง

ทำให้การเข้าถึงบริการทันตกรรมไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ ดังนั้น เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ มีอัตราการผุของฟันลดลงอย่างต่อเนื่อง กองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และกลุ่มงาน ทันตกรรม โรงพยาบาลควนกาหลง จึงประสานความร่วมมือกันเพื่อดำเนินงานโครงการทันตกรรมเชิงรุก SMART Children ประจำปีการศึกษา 2561 ขึ้น เพื่อมิให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีภาวะการผุของฟันลุกลามจนทำให้เกิดเป็นปัญหาที่ส่งผลต่อพัฒนาการ และสุขภาพช่องปากของเด็ก โดยจะเริ่มดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
เป็นปีแรกและจะดำเนินการเสนอโครงการต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี สำหรับการบูรณะฟันในเด็กปฐมวัย จะใช้เทคนิคการอุดฟันที่คิดค้นเพื่อใช้ในการบูรณะฟันกรณีที่ไม่สามารถจัดบริการรักษาแบบปกติได้ โดยทันตบุคลากรไม่ต้องได้รับการฝึกฝนมากนัก เป็นลักษณะของการให้บริการทันตกรรม เชิงรุกสามารถดำเนินการในชุมชนได้ โดยที่ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องมือที่ทันสมัย เทคนิคดังกล่าวนี้ ได้มีการพัฒนาวัสดุ ทางทันตกรรมที่ชื่อว่า กลาสไอโอโนเมอร์ ซีเมนต์ ที่มีคุณสมบัติที่ดีมีการปลดปล่อยฟลูออไรด์ในปริมาณที่สูง ซึ่งฟลูออไรด์ที่ปลดปล่อยออกมาก็มีคุณสมบัติในการต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย เพิ่มการคืนกลับของแร่ธาตุ มีความสำคัญต่อการควบคุมการเกิดฟันผุหรือป้องการเกิดฟันผุซ้ำ ซึ่งเรียกว่า วิธีอุดฟันอย่างง่าย SMART (Simplified Modified Atraumatic Restoration Technique)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อบริการทันตกรรมให้แก่เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
  2. เพื่อหยุดการลุกลามของภาวะฟันผุ ในเด็กปฐมวัย
  3. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมตรวจฟันเด็กปฐมวัย
  2. กิจกรรมให้บริการทันตกรรมแก่เด็กปฐมวัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 225
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ จะได้รับบริการทันตกรรม ได้แก่ การเคลือบหลุมร่องฟัน การอุดฟันด้วยวิธี SMART
  2. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ ที่มีภาวะฟันผุที่สามารถอุดได้จะได้รับบริการอุดฟันทุกคน
  3. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ จะมีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้บริการทันตกรรมแก่เด็กปฐมวัย

วันที่ 14 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. เสนอแผนงาน/โครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ พิจารณาอนุมัติโครงการ
  2. จัดทำหนังสือ เรียน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลควนกาหลง เพื่อเสนอขอลงนามบันทึกข้อตกลง (Memorandum of Understanding : MOU) ในการดำเนินงานโครงการ “บูรณะฟันเชิงรุกในเด็กปฐมวัย” ประจำปีการศึกษา 2561
  3. เสนอขออนุมัติดำเนินงานโครงการตามแผนงานที่ได้รับอนุมัติตามข้อ 1
  4. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์เพื่อใช้ในการดำเนินงานโครงการ
  5. ประสานงานกับทันตบุคลากรของโรงพยาบาลควนกาหลง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอุใดเจริญ กำหนดวันเวลาในการลงพื้นที่ดำเนินกิจกรรมตามโครงการทันตกรรมเชิงรุก SMART Children ประจำปีการศึกษา 2561
  6. เก็บรวบรวมข้อมูลผลการดำเนินงานโครงการ สรุปผลและรายงานผลการดำเนินงานโครงการพร้อมเอกสารเบิกจ่ายงบประมาณตามโครงการ เสนอต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบล อุใดเจริญ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ จะได้รับบริการทันตกรรม ได้แก่ การเคลือบหลุมร่องฟัน การอุดฟันด้วยวิธี SMART
  2. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ ที่มีภาวะฟันผุที่สามารถอุดได้จะได้รับบริการอุดฟันทุกคน
  3. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ จะมีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย

 

225 0

2. กิจกรรมตรวจฟันเด็กปฐมวัย

วันที่ 14 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. เสนอแผนงาน/โครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ พิจารณาอนุมัติโครงการ
  2. จัดทำหนังสือ เรียน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลควนกาหลง เพื่อเสนอขอลงนามบันทึกข้อตกลง (Memorandum of Understanding : MOU) ในการดำเนินงานโครงการ “บูรณะฟันเชิงรุกในเด็กปฐมวัย” ประจำปีการศึกษา 2561
  3. เสนอขออนุมัติดำเนินงานโครงการตามแผนงานที่ได้รับอนุมัติตามข้อ 1
  4. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์เพื่อใช้ในการดำเนินงานโครงการ
  5. ประสานงานกับทันตบุคลากรของโรงพยาบาลควนกาหลง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอุใดเจริญ กำหนดวันเวลาในการลงพื้นที่ดำเนินกิจกรรมตามโครงการทันตกรรมเชิงรุก SMART Children ประจำปีการศึกษา 2561
  6. เก็บรวบรวมข้อมูลผลการดำเนินงานโครงการ สรุปผลและรายงานผลการดำเนินงานโครงการพร้อมเอกสารเบิกจ่ายงบประมาณตามโครงการ เสนอต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบล อุใดเจริญ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ จะได้รับบริการทันตกรรม ได้แก่ การเคลือบหลุมร่องฟัน การอุดฟันด้วยวิธี SMART
  2. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ ที่มีภาวะฟันผุที่สามารถอุดได้จะได้รับบริการอุดฟันทุกคน
  3. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ จะมีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย

 

225 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินงานตามโครงการทันตกรรมเชิงรุก SMART Children ประจำปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อบริการทันตกรรมให้แก่เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน หยุดการลุกลามของภาวะฟันผุในเด็กปฐมวัย และให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาในแต่ละช่วงวัย โดยกำหนดดำเนินกิจกรรมตามโครงการในวันที่ 14,20-21และ 27-28 สิงหาคม 2561 ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ จำนวน 5 ศูนย์ ผลการดำเนินงานในภาพรวมพบว่าเด้กปฐมวัยที่ได้รับการบริการทันตกรรมเชิงรุก SMART TECHNIQUE จำนวน 160 คน จากเด็กจำนวน 206 คน คิดเป็นร้อยละ 77.67 และจำนวนเด้กที่มีฟันกรามหลังผุสามารถอุดได้ จำนวน 97 คน คิดเป็นร้อยละ 47.09 หากจำแนกเป็นศูนย์ พบว่า เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านผัง 120 ได้รับการบริการทันทันตกรรมเชิงรุก SMART TECHNIQUE จำนวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 83.67 รองลงมาเป็นศูนย์พัฒนาเด้กเล็กบ้านอุใดเหนือ จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดอุใดใต้ จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 78.57 ศูนย์พัฒนาเด้กเล็กบ้านอุใดเหนือ จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 3 จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 77.27 และศูนย์พัฒนาเด้กเล็กตำบลอุใดเจริญ จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 ตามลำดับ เมื่อจำแนกเด็กปฐมวัยที่มีฟันกรามหลังผุสามารถอุดได้ในภาพรวมเฉลี่ยคนละ 2-3 ซี่ และเคลือบหลุมร่องฟันในภาพรวมเฉลี่ยคนละ 5-6 ซี่ สำหรับกิจกรรมตามโครงการทันตกรรมเชิงรุก SMART Children ประจำปีการศึกษา 2561 ประกอบด้วย

  1. กิจกรรมตรวจฟันเด็กปฐมวัย และบันทึกผลการตรวจฟันของเด้กปฐมวัยเป็นรายบุคคล

  2. กิจกรรมให้บริการทันตกรรมแก่เด้กปฐมวัย ได้แก่ อุดและเคลือบหลุมร่องฟันน้ำนมด้วยเทคนิค SMART และบันทึกผลการรักษาเป็นรายบุคคล

บรรลุตามวัตถุประสงค์ เนื่องจากเด็กปฐมวัยได้รับการบริการทันตกรรมมากกว่าร้อยละ 70

ปัญหา/อุปสรรค  / มี

  1. ผู้ปกครองบางท่านไม่อนุญาติให้ทำกิจกรรม จำนวน 12 ราย

  2. มีผู้ปกครองบาง่ทานไม่นำเอกสารมาคืนครูผู้ดูแลเด็กประจำศูนย์ฯ ทำให้ไม่สามารถดำเนินการให้บริการทางทันตกรรมได้

  3. เด็กปฐมวัยบางรายไม่ได้มาตามกำหนดทำให้ไม่ได้รับบริการทางทันตกรรม

แนวทางการแก้ไข

  1. ก่อนการกรอกแบบขออนุญาต ต้องเพิ่มกิจกรรมให้เข้าใจและอธิบายให้ผู้ปกครองถึงขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม ให้ผู้ปกครองเข้าใจถึงวิธีการอุดฟันด้วย SMART TECHNIQUE และผลดี ผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับเด็กปฐมวัย

  2. การกรอกแบบขออนุญาตให้ผู้ผู้ปกครองกรอกที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและส่งคืนครูผู้ดูแลเด็กในทันทีเพื่อป้องกันการลืมส่งเอกสาร

  3. กำชับและเตือนกำหนดการให้ผู้ปกครองทราบล่วงหน้าก่อนการดำเนินกิจกรรม

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อบริการทันตกรรมให้แก่เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน ได้รับบริการทางทันตกรรม
225.00 206.00

 

2 เพื่อหยุดการลุกลามของภาวะฟันผุ ในเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของเด็กปฐมวัยได้รับบริการอุดฟันเพื่อ ยับยั้งการลุกลาม
225.00 206.00

 

3 เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของเด็กปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีมีพัฒนาการเป็นไปตามช่วงอายุ
225.00 206.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 225
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 225
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

(1) เพื่อบริการทันตกรรมให้แก่เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาสุขภาพฟัน

(2) เพื่อหยุดการลุกลามของภาวะฟันผุ ในเด็กปฐมวัย

(3) เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่เป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

(1) กิจกรรมตรวจฟันเด็กปฐมวัย

(2) กิจกรรมให้บริการทันตกรรมแก่เด็กปฐมวัย

ผลการดำเนินงานในภาพรวมพบว่าเด้กปฐมวัยที่ได้รับการบริการทันตกรรมเชิงรุก SMART TECHNIQUE จำนวน 160 คน จากเด็กจำนวน 206 คน คิดเป็นร้อยละ 77.67 และจำนวนเด้กที่มีฟันกรามหลังผุสามารถอุดได้ จำนวน 97 คน คิดเป็นร้อยละ 47.09 หากจำแนกเป็นศูนย์ พบว่า เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านผัง 120 ได้รับการบริการทันทันตกรรมเชิงรุก SMART TECHNIQUE จำนวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 83.67 รองลงมาเป็นศูนย์พัฒนาเด้กเล็กบ้านอุใดเหนือ จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดอุใดใต้ จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 78.57 ศูนย์พัฒนาเด้กเล็กบ้านอุใดเหนือ จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 3 จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 77.27 และศูนย์พัฒนาเด้กเล็กตำบลอุใดเจริญ จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 ตามลำดับ

ข้อเสนอแนะ /ไม่มี

ปัญหา/อุปสรรค  / มี

  1. ผู้ปกครองบางท่านไม่อนุญาติให้ทำกิจกรรม จำนวน 12 ราย

  2. มีผู้ปกครองบาง่ทานไม่นำเอกสารมาคืนครูผู้ดูแลเด็กประจำศูนย์ฯ ทำให้ไม่สามารถดำเนินการให้บริการทางทันตกรรมได้

  3. เด็กปฐมวัยบางรายไม่ได้มาตามกำหนดทำให้ไม่ได้รับบริการทางทันตกรรม

แนวทางการแก้ไข

  1. ก่อนการกรอกแบบขออนุญาต ต้องเพิ่มกิจกรรมให้เข้าใจและอธิบายให้ผู้ปกครองถึงขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม ให้ผู้ปกครองเข้าใจถึงวิธีการอุดฟันด้วย SMART TECHNIQUE และผลดี ผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับเด็กปฐมวัย

  2. การกรอกแบบขออนุญาตให้ผู้ผู้ปกครองกรอกที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและส่งคืนครูผู้ดูแลเด็กในทันทีเพื่อป้องกันการลืมส่งเอกสาร

  3. กำชับและเตือนกำหนดการให้ผู้ปกครองทราบล่วงหน้าก่อนการดำเนินกิจกรรม

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ
  1. ผู้ปกครองบางท่านไม่อนุญาติให้ทำกิจกรรม จำนวน 12 ราย

  2. มีผู้ปกครองบาง่ทานไม่นำเอกสารมาคืนครูผู้ดูแลเด็กประจำศูนย์ฯ ทำให้ไม่สามารถดำเนินการให้บริการทางทันตกรรมได้

  3. เด็กปฐมวัยบางรายไม่ได้มาตามกำหนดทำให้ไม่ได้รับบริการทางทันตกรรม

  1. ผู้ปกครองบางท่านไม่อนุญาติให้ทำกิจกรรม จำนวน 12 ราย

  2. มีผู้ปกครองบาง่ทานไม่นำเอกสารมาคืนครูผู้ดูแลเด็กประจำศูนย์ฯ ทำให้ไม่สามารถดำเนินการให้บริการทางทันตกรรมได้

  3. เด็กปฐมวัยบางรายไม่ได้มาตามกำหนดทำให้ไม่ได้รับบริการทางทันตกรรม

  1. ก่อนการกรอกแบบขออนุญาต ต้องเพิ่มกิจกรรมให้เข้าใจและอธิบายให้ผู้ปกครองถึงขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม ให้ผู้ปกครองเข้าใจถึงวิธีการอุดฟันด้วย SMART TECHNIQUE และผลดี ผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับเด็กปฐมวัย

  2. การกรอกแบบขออนุญาตให้ผู้ผู้ปกครองกรอกที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและส่งคืนครูผู้ดูแลเด็กในทันทีเพื่อป้องกันการลืมส่งเอกสาร

  3. กำชับและเตือนกำหนดการให้ผู้ปกครองทราบล่วงหน้าก่อนการดำเนินกิจกรรม


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการทันตกรรมเชิงรุก SMART Children ประจำปีการศึกษา 2561

รหัสโครงการ 61-L5282-3-03 ระยะเวลาโครงการ 1 กรกฎาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการทันตกรรมเชิงรุก SMART Children ประจำปีการศึกษา 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5282-3-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายศักดิ์ตะวัน สันเกาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด