กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลายในเขตเทศบาลนครตรัง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายไกรสร โตทับเที่ยง

ชื่อโครงการ รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลายในเขตเทศบาลนครตรัง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2564-L6896-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลายในเขตเทศบาลนครตรัง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลายในเขตเทศบาลนครตรัง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลายในเขตเทศบาลนครตรัง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2564-L6896-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 102,782.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อนำโดยยุงลายที่สำคัญในตำบลทับเที่ยง มี 3 โรค คือโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคชิก้า
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่มีรายงานการป่วยสูงเกือบทุกปี โรคชิคุนกุนยามีการระบาดมากในปี 2561-2562 ผู้ป่วยมีอาการปวดข้อบางรายอาจเรื้อรังอยู่นานหลายเดือนหรือหลายปี ส่วนโรคชิก้า มีรายงานการป่วยในปี 2562 จำนวน 1 ราย ถ้ามีโรคชิก้าติดเชื้อในหญิงตั้งครรภ์อาจทำให้เด็กที่คลอดมามีขนาดของศีรษะเล็กกว่าปกติ ส่วนประชาชนทั่วไปอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนโรครุนแรงทางระบบประสาท ทั้ง 3 โรคนี้มียุงลายบ้าน และยุงลายสวนเป็นพาหะนำโรค ประชาชนส่วนใหญ่ในจังหวัดตรัง ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีฤดูฝนที่ยาวนานกว่าฤดูกาลอื่นๆ สภาพแวดล้อมของที่อยู่อาศัย มีภาชนะขังน้ำทั้งที่เกิดจากพฤติกรรมของคน และแหล่งเพาะพันธุ์ตามธรรมชาติอยู่โดยรอบ จึงมีความเสี่ยงต่อการระบาดของโรคในกลุ่มนี้เป็นอย่างยิ่ง กลุ่มประเทศอาเชี่ยนจึงได้กำหนดให้วันที่ 15 มิถุนายน ของทุกปี เป็นวัน ASEAN Dengue Day เพื่อให้ทุกประเทศในภูมิภาคนี้ร่วมใจกันจัดกิจกรรมรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก จังหวัดตรังกำหนดให้มีมาตรการลดและกำจัดลูกน้ำยุงลายด้วยวิธี 5ป 1ข ใน 6ร ได้แก่ โรงเรือน โรงเรียน โรงพยาบาล โรงแรม โรงงาน และโรงธรรม สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของอำเภอเมืองตรัง มีรายงานผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกสูงติดอันดับ 1-3 ของจังหวัดตรังเกือบทุกปี ผู้ป่วยตำบลทับเที่ยงปี พ.ศ.2560-2562 จำนวน 26 , 33 และ 29 ราย อัตราป่วย 43.10 , 55.10 และ 48.54 ต่อแสนประชากรตามลำดับ ส่วนปี 2562 (ถึง 15 สิงหาคม 2563) จำนวน 21 ราย อัตราป่วย 35.41 ต่อแสนประชากร เป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดคืออัตราป่วยไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร ในปี พ.ศ.2563
(1 มกราคม- 15 สิงหาคม) ตำบลทับเที่ยงมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกและผู้สงสัยป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกที่แจ้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบดำเนินการควบคุมโรคทั้งสิ้น 142 ราย ผู้ป่วยกระจายอยู่ใน 21 ชุมชน จากทั้งหมด 27 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 77.77 ของชุมชนในตำบลทับเที่ยง ประชากรกลุ่มอายุที่มีรายงานการป่วยสูงที่สุดคือ 15-24 ปี รองลงมาคือ 25-34 ปี ส่วนใหญ่เป็นเด็กวัยเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายและผู้ใหญ่วัยทำงาน คาดว่าปี 2564 จะมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกใกล้เคียงกับค่ามัธยฐาน 5 ปี ส่วนผู้ป่วยโรคชิคุนกุนยาและผู้สงสัยที่มีการแจ้งพื้นที่ควบคุมโรคมีจำนวน 4 ราย โรงพยาบาลตรัง จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลายในเขตเทศบาลนครตรัง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรังขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาโรคติดต่อนำโดยยุงลาย เช่น โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคชิก้าระบาดในพื้นที่ โดยมาตรการหลักคือลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย และการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคติดต่อนำโดยยุงลายจากผู้ป่วยสู่บุคคลอื่น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI ) ใน 4 ร. ลดลง
  2. มีการป้องกันการรับและแพร่เชื้อโรคติดต่อนำโดยยุงลายใน 4 ร.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ในเรื่องการป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายโดยหลัก 5ป 1ข
2.หลังจากการจัดกิจกรรมรณรงค์ใน 4 ร.แล้ว ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI ) จะลดลง 3.ประชาชนมีการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคไข้เลือดออกในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรค

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

1 จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 2 ประชุมทีมและจัดทำแผนการรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายใน ๔ ร.คือ โรงเรือน(ชุมชน) โรงเรียน(ศูนย์เด็กเล็ก) โรงธรรม(วัด) และโรงพยาบาล 3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4 ขอใช้รถสำหรับการประชาสัมพันธ์ และรถสำหรับทีมรณรงค์ป้องกันโรคใน ๔ ร. 5 จัดทีมเดินรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในชุมชนเดือนละ ๒ ครั้ง โดยมีกิจกรรมคือ 5.1 การสำรวจลูกน้ำยุงลายในชุมชน
5.2 การกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน 5.3 การแจกเอกสารแผ่นปลิวขอความร่วมมือป้องกันโรค 5.4 การจ่ายทรายกำจัดลูกน้ำแก่บ้านที่มีภาชนะขังน้ำ 5.5 การใช้รถประชาสัมพันธ์ 5.6 การผลิตสปอตสำหรับการประชาสัมพันธ์และเสียงตามสาย
6 จัดทีมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก ปีละ ๒ ครั้ง โดยมีกิจกรรมคือ 6.1 การสำรวจลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน
6.2 การกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน
6.3 การให้ความรู้สร้างความเข้าใจแก่นักเรียนโดยใช้สื่อให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น บอร์ดนิทรรศการ ,ไวนิล , แผ่น CD เผยแพร่ความรู้ และเอกสารแผ่นปลิวเผยแพร่ความรู้
6.4 สร้างเครือข่ายในโรงเรียนให้มีการสำรวจและกำจัดลูกน้ำยุงลายทั้งที่โรงเรียนและบ้าน 7 จัดทีมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในวัด โดยมีกิจกรรมคือ 7.1 การสำรวจลูกน้ำยุงลายในวัด
7.2 การกำจัดลูกน้ำยุงลายในวัด 7.3 การเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชนที่มาทำบุญที่วัดด้วยสื่อต่างๆ เช่น แผ่น CD , ไวนิล และแผ่นปลิว
8 จัดทีมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในโรงพยาบาลและบ้านพัก เดือนละ ๑ ครั้งโดยมีกิจกรรมคือ 8.1 การสำรวจลูกน้ำยุงลายในโรงพยาบาล
8.2 การกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงพยาบาล
8.3 การจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลตรัง ๑ ครั้ง จัดทำบอร์ดนิทรรศการเผยแพร่และจัดทำแผ่นปลิวเผยแพร่ความรู้แก่ผู้มารับบริการตามจุดบริการผู้ป่วยและญาติ 9 การควบคุมโรคที่บ้านผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อนำโดยยุงลาย เป้าหมาย ๒๐๐ ราย 9.1 การสำรวจและกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านและบริเวณโดยรอบบ้านผู้ป่วย
9.2 การให้ผู้ป่วยโรคติดต่อนำโดยยุงลาย สมาชิกในบ้าน และบ้านใกล้เคียง ทาโลชั่นกันยุงเพื่อป้องกันการรับและแพร่เชื้อ โรค จำนวน ๒๐๐ ราย รายละ ๑๑ หลัง หลังละ ๒๐ ซอง รวม ๔๔,๐๐๐ ซอง
9.3 สนับสนุนงานป้องกันควบคุมโรค รพ.ตรัง ในการแจกจ่ายโลชั่นทากันยุงแก่ผู้ป่วยและผู้สงสัยป่วยด้วยโรคชิคุนกุนยา ใน ๒๗ ชุมชน ชุมชนละ ๑,๐๐๐ ซอง รวม ๒๗,000 ซอง 9.4 การใช้สเปรย์ฉีดยุงในบ้านผู้ป่วยและรอบบ้านผู้ป่วยเพื่อฆ่ายุงที่อาจจะมีเชื้อโรคไข้เลือดออกจำนวน ๒๐๐ ราย รายละ ๑๑ หลังคาเรือน หลังคาเรือนละ ๑ กระป๋อง รวม ๒,๒๐๐ กระป๋อง 10 การจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการปฏิบัติงาน 11 รายงานและประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

งานป้องกันควบคุมโรคและระบาดวิทยา โรงพยาบาลตรัง ได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อนำโดยยุงลายในเขตเทสบาลนครตรัง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง ระยะเวลาดำเนินโครงการ ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 สรุปกิจกรรมการดำเนินงานตามโครงการ ดังนี้ 1 . การผลิตสื่อสุขศึกษาเพื่อการประชาสัมพันธ์ โดยจัดทำสปอตบันทึกเสียง แผ่นปลิวประชาสัมพันธ์ และไวนิล 2. การรณรงค์ป้องกันโรคติดเชื้อนำโดยยุงลายในโรงเรียนมีการผลิตสื่อสุขศึกษาเพื่อประชาสัมพันธ์ ได้แก่ไวนิล จำนวน 9 ผืน แผ่นซีดีแผยแพร่ความรู้ สติกเกอร์ฟิวเจอร์บอร์ด 3. การรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในวัด มีการผลิดสื่อสุขศึกษาประชาสัมพันธ์ได้แก่ ไวนิลประชาสัมพันธ์ แผ่นซีดีเผยแพร่ความรู้ แผ่นปลิวประชาสัมพันธ์ 4. การรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในโรงพยาบาล มีการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ ได้แก่ สติกเกอร์ฟิวเจอร์บอร์ด แผ่นปลิวประชาสัมพันธ์และมีการจัดกิจกรรมเดินรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยยุงลายในโรงพยาบาลและบ้านพัก 1 ครั้ง วันที่ 1 มกราคม 2564 -30 กันยายน 2564 ตำบลทับเที่ยงมีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.30 ต่อแสนประชากร ไม่มีรายงานผู้ป่วยโรคชิคุนกุนยา และโรคซิก้า

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI ) ใน 4 ร. ลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของภาชนะที่พบลูกน้ำยุงลาย(CI) ใน 4 ร. หลังการรณรงค์ลดลงเหลือไม่เกิน 5
0.00

 

2 มีการป้องกันการรับและแพร่เชื้อโรคติดต่อนำโดยยุงลายใน 4 ร.
ตัวชี้วัด : โรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครตรังที่แจ้งควบคุมโรคไม่เกินค่ามัธยฐาน 5 ปี (200 ราย)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI ) ใน 4 ร. ลดลง (2) มีการป้องกันการรับและแพร่เชื้อโรคติดต่อนำโดยยุงลายใน 4 ร.

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลายในเขตเทศบาลนครตรัง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

รหัสโครงการ 2564-L6896-01-01 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลายในเขตเทศบาลนครตรัง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2564-L6896-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายไกรสร โตทับเที่ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด