กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 2

ชื่อโครงการ โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง ปี 2561 จังหวัดยะลา

ชุมชน กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ในจังหวัดยะลา

รหัสโครงการ 61-FW-95000 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

รายงานงวดที่ : 2 จากเดือน มีนาคม 2561 ถึงเดือน พฤษภาคม 2561

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ติดตามการดำเนินงานกองทุน อบต.บันนังสาเรง โดยสุชาดา สุวรรณคีรี

วันที่ 7 มีนาคม 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

 

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จากการเยี่ยมติดตามการดำเนินงานของกองทุน อบต.บันนังสาเรง พบว่า ผู้บริหารป่วย ไม่สามารถลงนามในเอกสารต่างๆ ได้ ทำให้เกิดความล่าช้าในการดำเนินงานของกองทุนฯ และมีปัจจัยอื่นๆอีก เช่น เจ้าหน้าที่รับผิดชอบใหม่ ปลัดย้ายมาใหม่  คณะกรรมการไม่ชัดเจน กำลังดำเนินการแก้ไขและแต่งตั้งคณะกรรมการยังไม่แล้วเสร็จ  การลงช้อมูลและการใช้โปรแกรมไม่เป็นปัจจุบัน ใช้แบบฟอร์มเก่า โครงการที่เสนอของ รพ.สต. ส่วนใหญ่เป็นงานประจำ ได้แนะนำให้ เจ้าหน้าที่ทบทวนและพิจารณาการขอเสนอโครงการของหน่วยงาน ให้เป็นไปตามอัตราส่วนที่ สปสช.กำหนด และให้ครอบคลุมทุกมิติ และมีองค์กรทั้งภาครัฐ/เอกชน ในพื้นที่อย่างทั่วถึง  สำหรับการช่วยเหลือกองทุนด้านการใช้โปรแกรมทีปัญหาเรื่องระบบ wifi  ได้แนะนำให้ผู้รับผิดชอบการลงข้อมูลของ อบต. มาดำเนินการที่ กองทุนฯ เทศบาลนครยะลาไปพลางก่อน จนกว่าระบบของ อบต.จะได้แก้ไขและปรับปรุงให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ และขอให้แจ้งให้พี่เลี้ยงเข้าร่วมประชุมเมื่อมีการพิจารณาโครงการด้วย

 

5 0

2. เสริมศักยภาพคณะกรรมการกองทุนเรื่องการจัดทำแผน ทบ.โกตาบารู (นายประพันธ์ สีสุข)

วันที่ 12 มีนาคม 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ได้แผนการดำเนินการ/งานกองทุน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมเวที เพื่อการติดตามการดำเนินงานของคณะกรรมการฯ

 

20 0

3. เยี่ยมเสริมพลังกองทุนอบต.ห้วยกระทิง (นายประพันธ์ สีสุข)

วันที่ 14 มีนาคม 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะกรรมการและคณะทำงานมีความชัดเจนที่ดีขึ้นของแผนการขับเคลื่อน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมเพื่อการเยี่ยมเสริมพลังกองทุนอบต.ห้วยกระทิง

 

40 0

4. เยี่ยมติดตามเสริมพลังงานกองทุนฯ อบต.บันนังสาเรง (นายประพันธ์ สีสุข)

วันที่ 20 มีนาคม 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เยี่ยมติดตามเสริมพลังงานกองทุนฯ อบต.บันนังสาเรง ได้เข้าในในเรื่องของการคีย์บันทึกข้อมูลของ จนท.กองทุน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมเพื่อการติดตามเยี่ยมและหนุนเสริม

 

40 0

5. ลงติดตามหนุนเสริมการดำเนินงานกองทุนฯ ในอำเภอบันนังสตา โดยนายสุวิทย์ หมาดอะดำ

วันที่ 7 พฤษภาคม 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีผู้รับผิดชอบจาก กองทุนในเขตอำเภอบันนังสตาและสาธารณสุขอำเภอบันนังสตา จำนวน 15 คน เข้าร่วมเวทีแลกเปลี่ยน
นายสุวิทย์ หมาดอะดำ ได้ทบทวนเป้าหมายและบทบาทของกองทุนหลักประกันสุขภาพ และแนวทางการทำงานที่มีกลไกของพี่เลี้ยงกองทุน ว่า เป็นการสร้างกลไกพัฒนาศักยภาพให้กองทุนฯในแต่ละจังหวัดมีทีมงานที่จะหนุนเสริมในกระบวนการทำงานของกองทุนให้บรรลุเป้าหมายการ สร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค โดยกลไกของชุมชน

การที่มีหลายพื้นที่ของกองทุนในเขตอำเภอบันนังสตา ยังไม่มีการใช้เวปไซต์ในการบริหารจัดการโครงการ โดยหลายพื้นที่ไม่มีการดำเนินการประชุมกรรมการให้เป็นไปตามแผนงาน ทั้งที่มีกลุ่มประชาชนพร้อมจะขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ ทางพี่เลี้ยงได้ให้คำแนะนำให้ผู้รับผิดชอบกองทุนในเรื่องของการใช้เวปไซต์ เนื่องจากหลายคนเป็นคนใหม่ที่เพิ่งย้ายมารับหน้าที่ในการดูแลข้อมูลกองทุนแทนคนเดิม ซึ่งทำให้ยังขาดความเข้าใจในการใช้เวปไซต์ 

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เป็นเวทีพบปะเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนของอำเภอบันนังสตา ได้แก่ เทศบาลตำบลบันนังสตา อบต.บันนังสตา อบต.เขื่อนบางลาง อบต.บาเจาะ อบต.ตลิ่งชัน อบต.ตาเนาะปูเตะ โดยการประสานงานร่วมกับ สาธารณะสุขอำเภอบันนังสตา

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 113 0                    
การใช้จ่ายงบประมาณ 75,600.00 0.00                    
คุณภาพกิจกรรม 0                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นายสุวิทย์ หมาดอะดำ และทีมสนับสนุนกองทุนท้องถิ่นจังหวัดยะลา
ผู้รับผิดชอบโครงการ