กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กำหนดมาตรฐานและโครงสร้าง สนง.เลขานุการกองทุนสุขภาพฯ 3 ต.ค. 2565 3 ต.ค. 2565

 

จัดซื้อวัสดุ/อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน เช่น วัสดุคอมพิวเตอร์ วัสดุสำนักงาน เป็นต้น

 

กำหนดมาตรฐานและโครงสร้าง สนง.เลขานุการกองทุนสุขภาพฯ
- ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน  6,000  บาท - ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์  เป็นเงิน  11,200  บาท - ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (ค่าคู่มือปฏิบัติงานกองทุนฯ) เป็นเงิน  2,025  บาท

 

ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ จำนวน 4 ครั้ง 22 พ.ย. 2565 22 พ.ย. 2565

 

ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ

 

ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ  จำนวน  3  ครั้ง ดังนี้ - ครั้งที่ 1 วันที่ 22 พฤศจิกายน 2565 มีผู้มาประชุม 8 คน - ครั้งที่ 2 วันที่ 29 พฤษภาคม 2566 มีผู้มาประชุม 9 คน - ครั้งที่ 3 วันที่ 31 สิงหาคม 2566 มีผู้มาประชุม 8 คน

 

ค่าเอกสารประกอบการประชุม 22 พ.ย. 2565 22 พ.ย. 2565

 

ถ่ายเอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานติดตามประเมินผล/คณะอนุกรรมการกองทุนฯ/คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ/คณะอนุกรรมการ LTC

 

ค่าเอกสารประกอบการประชุม

 

ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ จำนวน 4 ครั้ง 6 ธ.ค. 2565 6 ธ.ค. 2565

 

ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ จำนวน 4 ครั้ง

 

ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้ - ครั้งที่ 1 วันที่ 6 ธันวาคม 2565 มีผู้มาประชุม 16 คน - ครั้งที่ 2 วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2566 มีผู้มาประชุม 21 คน - ครั้งที่ 3 วันที่ 9 มิถุนายน 2566 มีผู้มาประชุม 18 คน - ครั้งที่ 4 วันที่ 13 กันยายน 2566 มีผู้มาประชุม 19 คน

 

ค่าตอบแทนหน่วยงาน/กลุ่ม/ชมรม/ชุมชนที่เข้าร่วมประชุมเสนอแผนงานโครงการ/รายงานผลฯ 6 ธ.ค. 2565 6 ธ.ค. 2565

 

ค่าตอบแทนหน่วยงาน/กลุ่ม/ชมรม/ชุมชนที่เข้าร่วมประชุมเสนอแผนงานโครงการ/ รายงานผลฯ

 

ค่าตอบแทนหน่วยงาน/กลุ่ม/ชมรม/ชุมชนที่เข้าร่วมประชุมเสนอแผนงานโครงการ/ รายงานผลฯ

 

ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC จำนวน 2 ครั้ง 22 ธ.ค. 2565 22 ธ.ค. 2565

 

ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC จำนวน 2 ครั้ง

 

ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC จำนวน 2 ครั้ง ดังนี้ - ครั้งที่ 1 วันที่ 22 ธันวาคม 2565 มีผู้มาประชุม 10 คน - ครั้งที่ 2 วันที่ 14 กันยายน 2566 มีผู้มาประชุม 10 คน

 

กิจกรรมประชุมพัฒนาศักยภาพ 21 ก.ค. 2566 21 ก.ค. 2566

 

13.00 - 13.10 น. ลงทะเบียน
13.10 - 14.10 น. บรรยายเรื่อง  บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพโดย  วิทยากรจากเทศบาลนครตรัง 14.10 – 14.20 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.20 – 1๖.20 น. บรรยายเรื่อง  แนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ปี 2567  และแนวทางการดำเนินงานกองทุน LTC ปี 2567  โดย  วิทยากรจากเทศบาลนครตรัง 16.20 - 16.๓๐ น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ประเมินความพึงพอใจ/อภิปรายผล

 

จัดกิจกรรมประชุมพัฒนาศักยภาพแก่คณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการกองทุน/คณะทำงานติดตามประเมินผล/คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง  เมื่อวันที่  21  กรกฎาคม  2566  ณ  ห้องประชุมสภาเทศบาลเมืองกันตัง  ซึ่งมีผู้เข้าร่วมการประชุม  จำนวน  26 คน  โดยมีวิทยากรจากเทศบาลนครตรังมาให้ความรู้ในเรื่องบทบาทหน้าที่ของกรรมการกองทุนฯ/ แนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ปี 2567  และแนวทางการดำเนินงานกองทุน LTC ปี 2567  ซึ่งผลจากการประชุมพัฒนาศักยภาพนั้น  ทำให้ผู้เข้าร่วมการประชุมได้รับความรู้ และมีความความเข้าใจในการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ มากยิ่งขึ้น

 

ประชุมคณะทำงานติดตามประเมินผลกองทุนฯ จำนวน 4 ครั้ง 9 ส.ค. 2566 9 ส.ค. 2566

 

ประชุมคณะกรรมการติดตามประเมินผล จำนวน 2 ครั้ง

 

ประชุมคณะกรรมการติดตามประเมินผล จำนวน 2 ครั้ง ดังนี้ - ครั้งที่ 1 วันที่ 9 สิงหาคม 2566 มีผู้มาประชุม 8 คน - ครั้งที่ 2 วันที่ 18 กันยายน 2566 มีผู้มาประชุม 8 คน

 

กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนสุขภาพ 16 ส.ค. 2566 16 ส.ค. 2566

 

08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 - 09.10 น. พิธีเปิด          โดย  นายกเทศมนตรีเมืองกันตัง
กล่าวรายงาน  โดย  ปลัดเทศบาล
09.10 - 10.00 น. บรรยายเรื่อง  กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่และแนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปี 2567โดยวิทยากรจาก  เทศบาลนครตรัง
10.00 - 10.10 น. บรรยายเรื่อง  ปัญหาสาธารณสุขในเขตเทศบาลเมืองกันตังโดยวิทยากรจาก  ศูนย์บริการสาธารณสุข  เทศบาลเมืองกันตัง 10.10 - 10.20 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.20 - 12.10 น. บรรยายเรื่อง  แนวทางการจัดทำแผนสุขภาพโดยวิทยากร  จากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง
12.10 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 16.30 น. 1. แบ่งกลุ่มจัดทำแผนสุขภาพตามกลุ่มเป้าหมาย 5 กลุ่ม ดังนี้ - กลุ่มแม่และเด็ก 0-6 ปี
- กลุ่มเด็กวัยเรียน
- กลุ่มวัยทำงาน/ประชาชนกลุ่มเสี่ยงทั่วไป
- กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- กลุ่มผู้พิการและผู้สูงอายุ
โดยทีมวิทยากรจาก  สำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง 2. นำเสนอแผนสุขภาพอันนำสู่การปฏิบัติตามกลุ่มเป้าหมาย 5 กลุ่ม ดังนี้ - กลุ่มแม่และเด็ก 0-6 ปี
- กลุ่มเด็กวัยเรียน
- กลุ่มวัยทำงาน/ประชาชนกลุ่มเสี่ยงทั่วไป - กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- กลุ่มผู้พิการและผู้สูงอายุ
โดยตัวแทนกลุ่มแต่ละกลุ่ม และผู้ดำเนินกิจกรรม คือ คุณฐาดิลก  ราชพลี 3. สรุปผลการทำแผนสุขภาพสู่การปฏิบัติ โดยทีมวิทยากรจาก สำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง     ศูนย์บริการสาธารณสุข ทม.กันตัง 4. ประเมินความพึงพอใจ

 

จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนสุขภาพฯ แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง/ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น แกนนำสุขภาพชุมชน 12  ชุมชน/ผู้นำชุมชน 12 ชุมชน/ครูอนามัยโรงเรียน/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ตัวแทนชมรมผู้สูงอายุ/ตัวแทนชมรมออกกำลังกาย/ประชาชนทั่วไป/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  จำนวน 60 คน  เมื่อวันที่  16  สิงหาคม  2566  ณ อาคารคอซิมบี๊  เทศบาลเมืองกันตัง  มีผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งนี้  จำนวน  61  คน  โดยให้ความรู้เรื่องกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่และแนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปี 2567  ปัญหาสาธารณสุขในเขตเทศบาลเมืองกันตัง  แนวทางการจัดทำแผนสุขภาพ  และแบ่งกลุ่มจัดทำแผนสุขภาพ  พร้อมนำเสนอแผนสุขภาพอันนำสู่การปฏิบัติตามกลุ่มเป้าหมาย 5  กลุ่ม คือ
1)  กลุ่มแม่และเด็ก 0-6 ปี 2)  กลุ่มเด็กวัยเรียน 3)  กลุ่มวัยทำงาน/ประชาชนกลุ่มเสี่ยงทั่วไป 4)  กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 5)  กลุ่มผู้พิการ/ผู้สูงอายุ
โดยวิทยากรจากเทศบาลนครตรัง  ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองกันตัง  ทีมวิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง  ผลการประชุมทำให้ได้รับทราบปัญหาสุขภาพที่สำคัญในเขตเทศบาลเมืองกันตัง  ก่อให้เกิดแนวทางการดำเนินงาน/แผนงาน/กิจกรรม/โครงการเพื่อที่จะแก้ไขปัญหา  โดยมีรายละเอียดตามกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่ม ดังนี้ 1) กลุ่มแม่และเด็ก 0-6 ปี ผลการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา ดังนี้ 1. เด็กขาดสารอาหาร 2. ยาเสพติด/ แอลกอฮอล์/ บุหรี่ในหญิงตั้งครรภ์ 3. โภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ 4. ท้องก่อนวัยอันควรและปัญหาของเด็กที่เกิดจากครอบครัวแตกแยก/ ครอบครัวไม่พร้อม