กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตที่ถูกต้อง 2. เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน และความดันโลหิต 3. ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้าตาลได้ 4. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันได้ 5. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีภาวะแทรกซ้อนลดลง
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยและญาติมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตที่ถูกต้อง 2. ผู้ป่วยและญาติสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน และความดันโลหิต 3. มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 40 ของผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้าตาลได้ 4. มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60 ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันได้ 5. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันมีภาวะแทรกซ้อนลดลง ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง เบาหวาน ได้รับการคัดกรองตา เท้า