โครงการพัฒนาศักยภาพ แกนนำสุขภาพ (อสม.)มีทักษะตามเกณฑ์ อสม.4.0
ชื่อโครงการ | โครงการพัฒนาศักยภาพ แกนนำสุขภาพ (อสม.)มีทักษะตามเกณฑ์ อสม.4.0 |
รหัสโครงการ | 003 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | รพ.สต.ตะเสะ |
วันที่อนุมัติ | 11 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2568 - 31 พฤษภาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 7,520.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางวรารัตน์ พูลภักดี |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.033,99.449place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 27 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ถือเป็นกลไกที่สำคัญในการขับเคลื่อนงานสุขภาพภาคประชาชน และยังเป็นบุคคลที่อยู่ใกล้ชิดประชาชน ซึ่งมีภารกิจหลักในการส่งเสริมบทบาทและพัฒนา อสม.โดยเฉพาะการส่งเสริม สนับสนนุให้อสม. มีความรอบรู้และเป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ จึงได้มีแนวคิดในการพัฒนาศักยภาพ อสม. ให้เป็นอสม. 4.0 โดยการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับการทำงาน เพื่อให้การพัฒนาช่องทางการสื่อสารข้อมูลที่ถูกต้องเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทันเวลา และมีประสิทธิภาพ จึงมีความสำคัญ ที่จะพัฒนา Application "สมาร์ท อสม." ขึ้น เพื่อเป็นเครื่องมือให้กับอสม.ในการดูแลสุขภาพของตนเองและประชาชน ได้อย่างถูกต้อง นำไปสู่ขุมชนพึ่งตนเองอย่างยั่งยืนต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.เขียนโครงการและเสนอเพื่ออนุมัติ 2.ติดต่อประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมดำเนินงาน 3.เตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ งบประมาณ และประสานงานวิทยากร 4.จัดอบรมให้ความรู้เพื่อเสริมทักษะให้ อาสาสมัครสาธารณสุข ทางระบบ APP ต่างๆเช่น หมอพร้อม Thai ID 5.สรุปผลการดำเนินงานและรายงานผลให้คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะเสะทราบเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ
1.อ่าสาสมัครสาธารณสุขสามารถเข้าถึงการใช้งานเทคโนโลยี ด้านสุขภาพได้ในระดับดี 2.อาสาสมัครสาธารณสุขนำไปถ่ายทอดให้แก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบตนเองให้เข้าถึงเทคโนโลยีด้านสุขภาพและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 มี.ค. 2568 10:29 น.