กิจกรรมคลินิกสุขภาพดี
กิจกรรม : กิจกรรมคลินิกสุขภาพดี
วันที่ 15/05/2025 - 15/05/2025
งบประมาณที่ตั้งไว้ 102,630.00 บาท
กลุ่มเป้าหมาย 50 คน
รายละเอียดกลุ่มเป้าหมาย ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลและชุมชนนำร่อง 4 ชุมชนที่มีความพร้อมและสนใจ
รายละเอียดกิจกรรม :
ขั้นวางแผน
- เชิญประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการฯ
- หารือชี้แจงการจัดโครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างคณะกรรมการบริหารจัดการศูนย์พัฒนา
และฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ เทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม กองสวัสดิการสังคม ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองเบตง ศูนย์สุขภาพชุมชนทั้ง 3 แห่ง
- เสนอโครงการเพื่อให้คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลเมืองเบตง
พิจารณาอนุมัติงบประมาณ
- ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
- จัดเตรียมสถานที่
- ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมายที่สนใจ รับสมัครผู้สนใจใช้บริการ
- ประชาสัมพันธ์ชุมชนที่สนใจ ซึ่งต้องมีความพร้อมด้านสถานที่ และมีจำนวนผู้เข้าร่วมที่มีคุณสมบัติ
และสนใจเข้าร่วมกิจกรรมเพียงพอ คัดเลือกมา 4 ชุมชน
5.2 ขั้นดำเนินการ
- เปิดรับสมัครผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเล็กน้อย- ภาวะพึ่งพิงปานกลาง
โดยมีคุณสมบัติดังนี้
1) เป็นคนไทยที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปในเขตเทศบาลเมืองเบตง
2) มีภาวะพึ่งพิงเล็กน้อย- ภาวะพึ่งพิงปานกลาง ใช้แบบประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน (Barthel ADL index) มีคะแนนอยู่ในช่วง 5 - 11 คะแนน
3) หากคะแนน ADL สูงกว่า 11 คะแนน พิจารณาเข้าร่วมกรณีมีความเสี่ยงหรือมีภาวะซึมเศร้า โดยประเมินจากแบบวัดความเศร้าในผู้สูงอายุไทย 15 ข้อ (TGDS-15) มีคะแนนตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไป
4) ไม่เป็นโรคติดต่อ และไม่มีภาวะป่วยรุนแรงหรือเฉียบพลัน
- คัดกรองผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเล็กน้อย ภาวะพึ่งพิงปานกลาง เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน
โดยแบ่งเป็น
• กลุ่มฟื้นฟูฯ 15 ครั้ง ที่คลินิก 10 คน
• กลุ่มฟื้นฟูฯ 4 ครั้ง ในชุมชน 40 คน (4 ชุมชนเป้าหมาย ชุมชนละ 10 คน)
- ซักประวัติ ประเมินภาวะสุขภาพและทำแผนการส่งเสริม ฟื้นฟูสมรรถภาพรายบุคคลโดยนักวิชาชีพ
- จัดกิจกรรมกลุ่มฟื้นฟูฯ ที่คลินิก 10 คน ทุกวันอังคาร รวม 15 ครั้ง เวลา 09.00 น. – 15.00 น.
มีรถรับ-ส่งในกรณีไม่สะดวกเดินทางมาเอง
- จัดกิจกรรมกลุ่มฟื้นฟูฯ ในชุมชน ชุมชนละ 10 คน ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 09.00 น. – 15.00 น.
ชุมชนละ 4 ครั้ง ใน 4 ชุมชนเป้าหมาย รวมทั้งสิ้น 16 ครั้ง
- จัดกิจกรรมฟื้นฟูฯ หลากหลายมิติตามตารางกิจกรรม
- มีจิตอาสาซึ่งเป็นผู้ที่มีความสามารถในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยเหลือผู้สูงอายุ
คัดเลือกจากผู้ผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้อง มีใจรักในการดูแลผู้สูงอายุ และสามารถสาธิตการช่วยเหลือได้อย่างถูกต้อง คอยให้การช่วยเหลือในการทำกิจกรรมทุกครั้ง ครั้งละ 3 ราย
5.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
- ประเมินผลการดำเนินการ โดยประเมินผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการด้านการใช้ชีวิตประจำวัน (ADL)
ประเมินภาวะซึมเศร้า (TGDS-15) และประเมินความพึงพอใจ
- สรุปผลการดำเนินการ
- รายงานผลการดำเนินการตามขั้นตอน
ขั้นวางแผน
- เชิญประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการฯ
- หารือชี้แจงการจัดโครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างคณะกรรมการบริหารจัดการศูนย์พัฒนา
และฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ เทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม กองสวัสดิการสังคม ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองเบตง ศูนย์สุขภาพชุมชนทั้ง 3 แห่ง
- เสนอโครงการเพื่อให้คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลเมืองเบตง
พิจารณาอนุมัติงบประมาณ
- ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
- จัดเตรียมสถานที่
- ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมายที่สนใจ รับสมัครผู้สนใจใช้บริการ
- ประชาสัมพันธ์ชุมชนที่สนใจ ซึ่งต้องมีความพร้อมด้านสถานที่ และมีจำนวนผู้เข้าร่วมที่มีคุณสมบัติ
และสนใจเข้าร่วมกิจกรรมเพียงพอ คัดเลือกมา 4 ชุมชน
5.2 ขั้นดำเนินการ
- เปิดรับสมัครผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเล็กน้อย- ภาวะพึ่งพิงปานกลาง
โดยมีคุณสมบัติดังนี้
1) เป็นคนไทยที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปในเขตเทศบาลเมืองเบตง
2) มีภาวะพึ่งพิงเล็กน้อย- ภาวะพึ่งพิงปานกลาง ใช้แบบประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน (Barthel ADL index) มีคะแนนอยู่ในช่วง 5 - 11 คะแนน
3) หากคะแนน ADL สูงกว่า 11 คะแนน พิจารณาเข้าร่วมกรณีมีความเสี่ยงหรือมีภาวะซึมเศร้า โดยประเมินจากแบบวัดความเศร้าในผู้สูงอายุไทย 15 ข้อ (TGDS-15) มีคะแนนตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไป
4) ไม่เป็นโรคติดต่อ และไม่มีภาวะป่วยรุนแรงหรือเฉียบพลัน
- คัดกรองผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเล็กน้อย ภาวะพึ่งพิงปานกลาง เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน
โดยแบ่งเป็น
• กลุ่มฟื้นฟูฯ 15 ครั้ง ที่คลินิก 10 คน
• กลุ่มฟื้นฟูฯ 4 ครั้ง ในชุมชน 40 คน (4 ชุมชนเป้าหมาย ชุมชนละ 10 คน)
- ซักประวัติ ประเมินภาวะสุขภาพและทำแผนการส่งเสริม ฟื้นฟูสมรรถภาพรายบุคคลโดยนักวิชาชีพ
- จัดกิจกรรมกลุ่มฟื้นฟูฯ ที่คลินิก 10 คน ทุกวันอังคาร รวม 15 ครั้ง เวลา 09.00 น. – 15.00 น.
มีรถรับ-ส่งในกรณีไม่สะดวกเดินทางมาเอง
- จัดกิจกรรมกลุ่มฟื้นฟูฯ ในชุมชน ชุมชนละ 10 คน ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 09.00 น. – 15.00 น.
ชุมชนละ 4 ครั้ง ใน 4 ชุมชนเป้าหมาย รวมทั้งสิ้น 16 ครั้ง
- จัดกิจกรรมฟื้นฟูฯ หลากหลายมิติตามตารางกิจกรรม
- มีจิตอาสาซึ่งเป็นผู้ที่มีความสามารถในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยเหลือผู้สูงอายุ
คัดเลือกจากผู้ผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้อง มีใจรักในการดูแลผู้สูงอายุ และสามารถสาธิตการช่วยเหลือได้อย่างถูกต้อง คอยให้การช่วยเหลือในการทำกิจกรรมทุกครั้ง ครั้งละ 3 ราย
5.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
- ประเมินผลการดำเนินการ โดยประเมินผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการด้านการใช้ชีวิตประจำวัน (ADL)
ประเมินภาวะซึมเศร้า (TGDS-15) และประเมินความพึงพอใจ
- สรุปผลการดำเนินการ
- รายงานผลการดำเนินการตามขั้นตอน
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ