กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/วามดันโลหิตสูง 1 ส.ค. 2563 1 ส.ค. 2563

 

คัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนในชุมชน  (ชั่งน้ำหนัก/วัดรอบเอว/วัดความดันโลหิต/ประเมินดัชนีมวลกาย/เจาะหาระดับน้ำตาลจากปลายนิ้ว)  เพื่อประเมินความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง  ภายใต้สถานการณ์การควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 โดยปฏิบัติตามมาตรการ/คำแนะนำที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด

 

ดำเนินการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนในชุมชน  (ชั่งน้ำหนัก/วัดรอบเอว/วัดความดันโลหิต/ประเมินดัชนีมวลกาย/เจาะหาระดับน้ำตาลจากปลายนิ้ว)  เพื่อประเมินความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง  ภายใต้สถานการณ์การควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 โดยปฏิบัติตามมาตรการ/คำแนะนำที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด  มีประชาชนในชุมชนได้รับการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพเบื้องต้น  จำนวน  188  คน

 

กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ 27 ส.ค. 2563 27 ส.ค. 2563

 

  • ลงทะเบียน/ประเมินคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น
  • พิธีเปิดโครงการ
  • บรรยายเรื่อง  ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • บรรยายเรื่อง  การดูแลส่งเสริมสุขภาพด้วย 3 อ 2 ส 1 ฟ
  • พักรับประทานอาหารกลางวัน
  • บรรยายเรื่อง  ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดหวาน ลดมัน ลดเค็ม...ลดโรค  และทดสอบความเค็มของอาหาร
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • บรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติเรื่อง  สมาธิบำบัด...ลดโรค  (SKT)
  • ตอบข้อซักถาม/สรุปผลการเรียนรู้
  • ประเมินความพึงพอใจ

 

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มเสี่ยงในชุมชน  จำนวน  50  คน  เมื่อวันที่  27  สิงหาคม  2563  ณ  ที่ทำการชุมชนหลาโป-หลังควน  มีผู้เข้ารับการอบรม  จำนวน  50  คน  โดยให้ความรู้เรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง  การดูแลส่งเสริมสุขภาพด้วย 3 อ 2 ส  ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดหวาน ลดมัน ลดเค็ม...ลดโรค  และทดสอบความเค็มของอาหาร  พร้อมฝึกปฏิบัติเรื่อง  สมาธิบำบัด...ลดโรค  (SKT)  โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกันตังใต้และโรงพยาบาลกันตัง  มาให้ความรู้ดังกล่าว
  2. ประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรมจำนวน  50  คน  ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน  จำนวน  50 คนผู้เข้ารับการอบรมร้อยละ  83.2  มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.16 ซึ่งสามารถจำแนกในแต่ละด้านได้ดังนี้
    2.1 ด้านวิทยากร  และสื่อที่ใช้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.28  คิดเป็นร้อยละ  85.60

- เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.36  คิดเป็นร้อยละ  86.80 - วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย  4.26  คิดเป็นร้อยละ  85.20 - สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.24  คิดเป็นร้อยละ  84.80 2.2  ด้านความรู้ ความเข้าใจ  และการนำไปใช้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.10  คิดเป็นร้อยละ  82.00
- มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.20  คิดเป็นร้อยละ  84.00
- สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.08  คิดเป็นร้อยละ  81.60 - สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.02  คิดเป็นร้อยละ  80.40 2.3  ด้านสถานที่/ระยะเวลา  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.04  คิดเป็นร้อยละ  80.80 - ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.04  คิดเป็นร้อยละ  80.80 - สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.04  คิดเป็นร้อยละ  80.80 2.4  ภาพรวมของโครงการ  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.20  คิดเป็นร้อยละ  84.00