กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ประชุมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดสงขลา 22 ต.ค. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Cochingกองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลป่าขาด โดยนางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ และทีม 3 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ โดย นายณัฐเกียรติ ชำนิธุรการ นางกรอุไร ใบตาเย็บ 4 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน ของ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว นายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล และทีม 4 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน ของ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระวะโดยนายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล และทีม 4 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน ของกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับนายปริญญา ถิรวุฒิ และทีม 4 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน ของ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง โดยนายปริญญา ถิรวุฒิ และทีม 4 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน ของ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง โดย นางดวงใจ อ่อนแก้ว และทีม 4 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coaching กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ โดยนายธนพนธ์ จรสุวรรณ และทีม 4 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน โดย นางสาวนลินี สังขชาติ นางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ และนางสาวบารีย๊ะ ยาดำ 4 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสิงหนคร โดย นางสาวบารีย๊ะ ยาดำ ,นางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ และนางสาวจุฑา สังขชาติ 4 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ โดย นางสาวอารียา มามะ นางสาวบารีย๊ะ ยาดำ และนางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ 4 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coaching กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน อำเภอจะนะ โดยนายธนพนธ์ จรสุวรรณและทีม 10 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองแงะ โดย นางกรอุไร ใบตาเย็บ และนายณัฐเกียรติ ชำนิธุรการ 16 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองทราย โดย นายอรรถพงษ์ แวสือนิและทีม 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี โดย นายอรรถพงษ์ แวสือนิและทีม 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพตำบลอบต.นาหมอศรีโดยนายอะหมัด หลีขาหรี และทีม 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ โดยนายอะหมัด หลีขาหรี และทีม 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา โดย นายสมโภช ยอดดี และทีม 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ โดย นางดวงใจ ่อ่อนแก้วและทีม 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะทิ้งพระ โดยนายศุภชัย เผือกผ่องและทีม 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง โดยนางสุราลัย สุขแดง และทีม 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบล อบต. เปียน โดยโดยสุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน และทีม 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังใหญ่ โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Cochingกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกระแสสินธุ์ โดยนายคฑาวุธ คงเย็น และทีม 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Cochingกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส โดยนายคฑาวุธ คงเย็น และทีม 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Cochingกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล โดยนางเพียงขวัญ กาญจนเพ็ญ และทีม 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Cochingกองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลคูหาใต้ โดยนางสาวปราณี วุ่นฝ่าย และทีม 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ โดยนายจำรัส หวังมณี และทีม 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coching กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่ โดยนางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์และทีม 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

การประเมินเยี่ยมติดตามโดยพี่เลี้ยง 17 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coaching กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คู อำเภอจะนะ โดยนายธนพนธ์ จรสุวรรณและทีม 18 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coaching กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ฉาง อำเภอนาทวี โดยนายธนพนธ์ จรสุวรรณและทีม 24 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coaching กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คลองกวาง อำเภอนาทวี โดยนายอะหมัด หลีขาหรี และทีม 1 เม.ย. 2564

 

 

 

 

 

ประชุมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดสงขลาครั้งที่ 1 19 ธ.ค. 2563 19 ธ.ค. 2563

 

ประชุมแนะนำตัวพี่เลี้ยงแต่ละพื้นที่และหาแนวทางในการดำเนินการร่วมกัน

 

พี่เลี้ยงกองทุนฯสุขภาพตำบล จังหวัดสงขลา วางแผนดำเนินงานพี่เลี้ยงปี 2564

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับนายปริญญา ถิรวุฒิ และทีม 21 ธ.ค. 2563 21 ธ.ค. 2563

 

ร่วมจัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต.นามับ อำเภอจะนะ - ให้คำแนะนำทิศทาง แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช. เขต 12 ปี 2564 - ให้คำแนะนำการบริการจัดการกองทุนฯ - ให้คำแนะนำการทำแผนกองทุนฯ - ให้คำแนะนำการพัฒนาแผน และพัฒนาโครงการในระบบ

 

ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม   - มีแผนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คู ในระบบ และมีการพัฒนาโครงการในระบบ   - กองทุนฯ ทราบทิศทาง แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช. เขต 12 ปี 2564   - กองทุนฯ มีแนวในการบริการจัดการกองทุนฯ

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน อำเภอจะนะ โดยนายธนพนธ์ จรสุวรรณและทีม 21 ธ.ค. 2563 21 ธ.ค. 2563

 

  • จัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน อำเภอจะนะ
    • แนะนำทิศทาง แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช. เขต 12 ปี 2564
    • แนะนำการบริการจัดการกองทุนฯ
    • แนะนำการทำแผนกองทุนฯ
    • แนะนำการพัฒนาแผน และพัฒนาโครงการในระบบ

 

-มีแผนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ  ในระบบ และมีการพัฒนาโครงการในระบบ
- กองทุนฯ ทราบทิศทาง แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช. เขต 12 ปี 2564
-กองทุนฯ มีแนวในการบริการจัดการกองทุนฯ

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน อบต.วัดขนุน โดย นางสาวนลินี สังขชาติ นางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ และนางสาวบารีย๊ะ ยาดำ 21 ธ.ค. 2563 25 ธ.ค. 2563

 

  • ร่วมจัดทบทวนแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.วัดขนุน
  • ให้คำแนะนำทิศทาง แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช. เขต 12 ปี 2564

 

  • มีการทบทวนแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ทำนบ
  • กองทุนมีความรู้และเข้าใจ แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช. เขต 12 ปี 2564
    • ให้คำแนะนำการบริการจัดการกองทุนฯ
    • ให้คำแนะนำการทำแผนและทบทวนแผนกองทุนฯมี แผนงานโครงการดังนี้
    • แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง ปี 2564
    • แผนงานผู้สูงอายุ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน
    • แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน
    • แผนงานโรคเรื้อรัง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน
    • แผนงานอาหารและโภชนาการ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน
    • แผนงานสารเสพติด ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน
    • แผนงานบุหรี่ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน
    • แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน
    • แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน
    • มีการแนะนำการพัฒนาแผน และพัฒนาโครงการในระบบ

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว นายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล และทีม 22 ธ.ค. 2563 24 ธ.ค. 2563

 

1.ร่วมประชุม​คณะกรรมการ​กองทุนฯอบต.บ้านขาว 2.ชี้แจงรายละเอียดประกาศคณะกรรมการ​หลักประกัน​สุขภาพ​แห่งชาติ​ ปี​ 2557 , 2561, 2562 และ​2563 3.ชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานของสปสช.เขต12 4.แนะนำวิธีการจัดทำแผน​ การพัฒนาโครงการ​ การประเมินโครงการในระบบ 5.กระตุ้นให้องค์กรต่างๆ​ และกลุ่มประชาชนเข้ามารับการสนับสนุนงบปนะมาณกองทุนฯ

 

1.มีคณะกรรมการ​กองทุน​และพี่เลี้ยงกองทุนเข้าร่วมประชุม​ 17​ คน 2.คณะกรรมการ​มีความรู้​ เข้าใจในประกาศสปสช.​ การจัดทำแผน​ การพัฒนา​โครงการ​ และการประเมิน​โครงการ​ 3.ผู้รับผิดชอบกองทุนสามารถใช้โปรแกรมสุขภาพตำบล​ภาคใต้​ในการบริหารจัดการกองทุนฯ

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง โดย นางดวงใจ อ่อนแก้ว และทีม 22 ธ.ค. 2563 22 ธ.ค. 2563

 

  • จัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลพะตง
  • แนะนำทิศทาง แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช. เขต 12 ปี 2564
  • แนะนำการบริการจัดการกองทุนฯ
  • แนะนำการทำแผนกองทุนฯ
  • แนะนำการพัฒนาแผน และพัฒนาโครงการในระบบ

 

  • มีแผนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลพะตง ในระบบ และมีการพัฒนาโครงการในระบบ
  • กองทุนฯ ทราบทิศทาง แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช. เขต 12 ปี 2564
  • กองทุนฯ มีแนวในการบริการจัดการกองทุนฯ

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ โดย นางดวงใจ ่อ่อนแก้วและทีม 22 ธ.ค. 2563 22 ธ.ค. 2563

 

ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่ สนุบสนุนการทำแผน/แผนการใช้จ่ายเงิน กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลเมืองบ้านพรุ

 

ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่ สนุบสนุนการทำแผน กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลเมืองบ้านพรุ โดยมี ท่านปลัดรักษาการนายกฯ เป็นประธานในพิธีเปิด มีการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการ เพื่อเข้าสู่แผนการดำเนินงานกองทุนฯ และส่งเสริมการจัดทำแผนการใช้จ่ายเงินกองทุนฯ โดยมีแผนงานดังนี้

  1. แผนงานโรคเรื้อรัง ปี 2564
  2. แผนงานสารเสพติด ปี 2564
  3. แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19 ปี 2564
  4. แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง ปี 2564 ก
  5. แผนงานผู้สูงอายุ ปี 2564
  6. แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด ปี 2564
  7. แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2564
  8. แผนงานบุหรี่ ปี 2564
  9. แผนงานกิจกรรมทางกาย ปี 2564

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินกองทุนสุขภาพตำบลอบต.ทำนบ โดย นางสาวอารียา มามะ นางสาวบารีย๊ะ ยาดำ และนางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ 23 ธ.ค. 2563 25 ธ.ค. 2563

 

  • ร่วมจัดทบทวนแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ทำนบ
  • ให้คำแนะนำทิศทาง แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช. เขต 12 ปี 2564
    • ให้คำแนะนำการบริหารจัดการกองทุนฯ

 

  • กองทุนมีความรู้และเข้าใจ แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช. เขต 12 ปี 2564

  • ให้คำแนะนำการทำแผนและทบทวนแผนกองทุนฯ พบว่ามีแผนดังนี้

    • แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2564
    • แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19 ปี 2564
    • แผนงานแรงงานนอกระบบ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ
    • แผนงานคนพิการ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ
    • แผนงานผู้สูงอายุ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ
    • แผนงานอุบัติเหตุ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ
    • แผนงานสิ่งแวดล้อม ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ
    • แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ
    • แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ
    • แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ
    • แผนงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ
    • แผนงานเหล้า ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ
    • แผนงานสารเสพติด ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ
    • แผนงานกิจกรรมทางกาย ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ
    • แผนงานโรคเรื้อรัง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ
    • แผนงานอาหารและโภชนาการ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ โดยนายธนพนธ์ จรสุวรรณ และทีม 24 ธ.ค. 2563 24 ธ.ค. 2563

 

  • จัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ
    • แนะนำทิศทาง แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช. เขต 12 ปี 2564
    • แนะนำการบริการจัดการกองทุนฯ
    • แนะนำการทำแผนกองทุนฯ
    • แนะนำการพัฒนาแผน และพัฒนาโครงการในระบบ

 

-มีแผนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระบบ และมีการพัฒนาโครงการในระบบ
- กองทุนฯ ทราบทิศทาง แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช. เขต 12 ปี 2564
-กองทุนฯ มีแนวในการบริการจัดการกองทุนฯ

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง โดยนายปริญญา ถิรวุฒิ และทีม 25 ธ.ค. 2563 25 ธ.ค. 2563

 

  • ร่วมจัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ป่าชิง อำเภอจะนะ
    • ให้คำแนะนำทิศทาง แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช. เขต 12 ปี 2564
    • ให้คำแนะนำการบริการจัดการกองทุนฯ
    • ให้คำแนะนำการทำแผนกองทุนฯ
    • ให้คำแนะนำการพัฒนาแผน และพัฒนาโครงการในระบบ

 

ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม   - มีแผนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ป่าชิง ในระบบ และมีการพัฒนาโครงการในระบบ   - กองทุนฯ ทราบทิศทาง แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช. เขต 12 ปี 2564   - กองทุนฯ มีแนวในการบริการจัดการกองทุนฯ

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่ โดยนางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์และทีม 25 ธ.ค. 2563 25 ธ.ค. 2563

 

.

 

.

 

นับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่ โดยนางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์และทีม 25 ธ.ค. 2563 25 ธ.ค. 2563

 

สนับสนุนการ

1 ทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ เทศบาลตำบลบ้านไร่
2 แผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่

 

1 ทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ เทศบาลตำบลบ้านไร่ พบว่าในปี 64 มีแผนงานดังนี้

  • แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่
  • แผนงานอุบัติเหตุ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่
  • แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่
  • แผนงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่
  • แผนงานผู้สูงอายุ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่
  • แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่
  • แผนงานสิ่งแวดล้อม ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่
  • แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่
  • แผนงานบุหรี่ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่
  • แผนงานกิจกรรมทางกาย ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่
  • แผนงานอาหารและโภชนาการ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่

2 เกิดการทบทวนแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่

  • พบว่า วันที่ไปให้คำแนะนำกองทุนมีปัญหาเรื่องการเงินในระบบไม่ตรงกับในสมุดบัญชีพี่เลี้ยงให้คำแนะนำ และช่วยดูข้อมูลจากฎีกา หน้าสมุดบัญชีและในระบบ หลังจากนั้นให้กองทุนไปดูเองอีกครั้ง

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบ Online ครั้งที่ 1 กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ โดยนายธนพนธ์ จรสุวรรณ และทีม 5 ม.ค. 2564 5 ม.ค. 2564

 

  • แนะนำการเขียนโครงการหรือการพัฒนาโครงการแบบ Online โดยบันทึกลงในเวปไซด์ Localfund.happynetwork.org แก่ กรรมการกองทุน ผู้ขอรับทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ ในการขอรับการสนับสนุนหรือพัฒนาโครงการ

 

ผู้ขอรับทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ เข้าใจ และสามารถเขียนโครงการหรือการพัฒนาโครงการแบบ Online โดยบันทึกลงในเวปไซด์ Localfund.happynetwork.org

 

ประชุมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดสงขลาครั้งที่ 2 7 ม.ค. 2564 7 ม.ค. 2564

 

-ประชุมพี่เลี้ยงวางแผนการดำเนินงานในการลงพื้นที่ช่วงสถานกการณ์โควิด
-วางแผนการลงพื้นที่ในการทำกิจกรรมแต่ละครั้งเพื่อให้ได้เนื้องานที่มีประสิทธิภาพ มีผลผลิต/ผลลัพธ์ที่ชัดเจน

 

  • เกิดประชุมพี่เลี้ยงวางแผนการดำเนินงานในการลงพื้นที่ช่วงสถานกการณ์โควิด

  • แนะนำปรเภทการขอรับทุนจาก สปสช เพื่อเป็นแนวทางการให้คำปรึกษาไปในทำนองเดียวกันทั้งจังหวัด

  • เกิด ผลผลิต/ผลลัพธ์ในการทำกิจกรรมแต่ละแผน และได้แผนการดำเนินการพี่เลี้ยงที่ชัดเจนขึ้น

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คู อำเภอจะนะ โดยนายธนพนธ์ จรสุวรรณและทีม 8 ม.ค. 2564 8 ม.ค. 2564

 

  • ร่วมจัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คู อำเภอจะนะ
    • ให้คำแนะนำทิศทาง แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช. เขต 12 ปี 2564
    • ให้คำแนะนำการบริการจัดการกองทุนฯ
    • ให้คำแนะนำการทำแผนกองทุนฯ
    • ให้คำแนะนำการพัฒนาแผน และพัฒนาโครงการในระบบ

 

ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม   - มีแผนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คู ในระบบ และมีการพัฒนาโครงการในระบบ   - กองทุนฯ ทราบทิศทาง แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช. เขต 12 ปี 2564   - กองทุนฯ มีแนวในการบริการจัดการกองทุนฯ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบ Online ครั้งที่ 1 กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา โยนายธนพนธ์ จรสุวรรณและทีม 13 ม.ค. 2564 13 ม.ค. 2564

 

  • แนะนำการเขียนโครงการหรือการพัฒนาโครงการแบบ Online โดยบันทึกลงในเวปไซด์ Localfund.happynetwork.org แก่ กรรมการกองทุน ผู้ขอรับทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน อำเภอจะนะ ในการขอรับการสนับสนุนหรือพัฒนาโครงการ

 

ผู้ขอรับทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน อำเภอจะนะ เข้าใจ และสามารถเขียนโครงการหรือการพัฒนาโครงการแบบ Online โดยบันทึกลงในเวปไซด์ Localfund.happynetwork.org

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ฉาง อำเภอนาทวี โดยนายธนพนธ์ จรสุวรรณและทีม 14 ม.ค. 2564 14 ม.ค. 2564

 

ร่วมจัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ฉาง อำเภอนาทวี  - ให้คำแนะนำทิศทาง แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช. เขต 12 ปี 2564  - ให้คำแนะนำการบริการจัดการกองทุนฯ  - ให้คำแนะนำการทำแผนกองทุนฯ  - ให้คำแนะนำการพัฒนาแผน และพัฒนาโครงการในระบบ

 

  1. มีคณะกรรมการ​กองทุน​ อนุกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนและพี่เลี้ยงกองทุนเข้าร่วมประชุม​ 28​ คน
  2. คณะกรรมการ​มีความรู้​ เข้าใจในประกาศสปสช.​ การจัดทำแผน​ การพัฒนา​โครงการ​ และการประเมิน​โครงการ​
  3. ผู้รับผิดชอบกองทุนสามารถใช้โปรแกรมสุขภาพตำบล​ภาคใต้​ในการบริหารจัดการกองทุนฯ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับนายปริญญา ถิรวุฒิ และทีม 15 ม.ค. 2564 15 ม.ค. 2564

 

  • แนะนำการเขียนโครงการหรือการพัฒนาโครงการแบบ Online โดยบันทึกลงในเวปไซด์ Localfund.happynetwork.org แก่ กรรมการกองทุน ผู้ขอรับทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต.นาทับ อำเภอจะนะ ในการขอรับการสนับสนุนหรือพัฒนาโครงการ

 

ผู้ขอรับทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต.นาทับ อำเภอจะนะ เข้าใจ และสามารถเขียนโครงการหรือการพัฒนาโครงการแบบ Online โดยบันทึกลงในเวปไซด์ Localfund.happynetwork.org

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ โดยนายจำรัส หวังมณี และทีม 24 ก.พ. 2564 24 ก.พ. 2564

 

สนับสนุน

1 ทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพตำบล อบต เกาะยอ

2 แผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบลตำบล อบต เกาะยอ

 

สนับสนุน

1 ทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพตำบล อบต เกาะยอ โดยมีแผนงานดังนี้ - 2564 แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง ปี 2564
- แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19 ปี 2564
- แผนงานโรคเรื้อรัง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ - แผนงานอุบัติเหตุ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ - แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2564
- กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ - แผนงานกิจกรรมทางกาย ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ - แผนงานอาหารและโภชนาการ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ

2 ให้คำแนะนำเรื่องแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบลตำบล อบต เกาะยอ และบันทึกในระบบเรื่องการบันทึกการงบทบจาก สปสช และจาก อบต. ให้เป็น 0 บาท เนื่องจากไม่ได้รับเงินจาการจัดสรร

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา โดย นายสมโภช ยอดดี นางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์ และนางดวงใจ อ่อนแก้ว 1 มี.ค. 2564 5 ก.พ. 2564

 

สนับสนุน

1 ทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา

2 แผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา

 

สนับสนุนการ

1 ทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพ เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา พบว่ามีการจัดทำแผนโครงการดังนี้

  • แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
  • แผนงานคนพิการ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
  • แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
  • แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
  • แผนงานสิ่งแวดล้อม ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
  • แผนงานผู้สูงอายุ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
  • แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
  • แผนงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
  • แผนงานอุบัติเหตุ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
  • แผนงานโรคเรื้อรัง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
  • แผนงานสารเสพติด ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
  • แผนงานเหล้า ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
  • แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19 ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
  • แผนงานอาหารและโภชนาการ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
  • แผนงานบุหรี่ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
  • แผนงานกิจกรรมทางกาย ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา

2 เกิดแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ในระบบตรงกับหน้าสมุดบัญชี เจ้าหน้าที่กองทุนและคณะกรรมการกองทุนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้งานในระบบและแผนการใช้จ่ายเงินมากขึ้น

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลคูหาใต้ โดยนางสาวปราณี วุ่นฝ่าย และทีม 1 มี.ค. 2564 8 ม.ค. 2564

 

สนับสนุน

1 ทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพอบต. คูหาใต้

2 แผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล อบต. คูหาใต้

 

สนับสนุน

1 เกิดแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพอบต. คูหาใต้ ปี 2564 ดังนี้

  • แผนงานสิ่งแวดล้อม ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้
  • แผนงานผู้สูงอายุ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้
  • แผนงานสารเสพติด ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้
  • แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้
  • แผนงานกิจกรรมทางกาย ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้
  • แผนงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้
  • แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้
  • แผนงานโรคเรื้อรัง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้
  • แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19 ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้
  • แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้
  • แผนงานอาหารและโภชนาการ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้

2 เกิดแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล อบต. คูหาใต้ และแนะนำการบริหารจัดการกองทุน การอนุมัติโครงการและช่วยดูโครงการที่ผู้ขอรับทุนส่งมาเพื่อของบสนับสนุนจาก อบต คูหาใต้

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบ Online ครั้งที่ 1 กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ฉาง อำเภอนาทวี โดยนายธนพนธ์ จรสุวรรณ และทีม 4 มี.ค. 2564 4 มี.ค. 2564

 

แนะนำการเขียนโครงการหรือการพัฒนาโครงการแบบ Online โดยบันทึกลงในเวปไซด์ Localfund.happynetwork.org แก่ กรรมการกองทุน ผู้ขอรับทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บ้านฉาง อำเภอจะนะ ในการขอรับการสนับสนุนหรือพัฒนาโครงการ

 

ผู้ขอรับทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ฉาง อำเภอนาทวี เข้าใจ และสามารถเขียนโครงการหรือการพัฒนาโครงการแบบ Online โดยบันทึกลงในเวปไซด์ Localfund.happynetwork.org

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินเทศบาลเมืองสิงหนคร โดย นางสาวบารีย๊ะ ยาดำ ,นางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ และนางสาวจุฑา สังขชาติ 11 มี.ค. 2564 11 มี.ค. 2564

 

-ทบทวนแผนสุขภาพ
-ให้คำแนะนำเรื่องระบบกองทุน ให้กับเจ้าหน้าที่ และบทบาทหน้าที่ของกองทุน

 

เกิดการทบทวนแผน

1 ทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพเทศบาลเมืองสิงหนคร โดยมีแผนงานดังนี้
- แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง ปี 2564
- แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19 ปี 2564
- แผนงานโรคเรื้อรัง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสิงหนคร
- แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2564
- แผนงานคนพิการ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสิงหนคร
- แผนงานกิจกรรมทางกาย ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลเมืองสิงหนคร
- แผนงานอาหารและโภชนาการ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสิงหนคร
- กองทุน LTC - แผนงานสิ่งแวดล้อม ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสิงหนคร
- แผนงงานผู้สูงอายุ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสิงหนคร
- แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสิงหนคร
-แผนงานเด็ก เยาวชน และครอบครัว ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสิงหนคร
-แผนงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสิงหนคร
-แผนงานสารเสพติด ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสิงหนคร
2 ใหคำแนะนำเรื่องแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบลตำบล เทศบาลเมืองสิงหนคร และบันทึกในระบบเรื่องการบันทึกการสมทบจาก สปสช. และจาก เทศบาล ให้เสร็จภายในเดือนมีนาคม 64

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบ Online ครั้งที่ 1กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คู อำเภอจะนะ โดยนายธนพนธ์ จรสุวรรณและทีม 15 มี.ค. 2564 16 มี.ค. 2564

 

  • แนะนำการเขียนโครงการหรือการพัฒนาโครงการแบบ Online โดยบันทึกลงในเวปไซด์ Localfund.happynetwork.org แก่ กรรมการกองทุน ผู้ขอรับทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คู อำเภอจะนะ ในการขอรับการสนับสนุนหรือพัฒนาโครงการ

 

ผู้ขอรับทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คู อำเภอจะนะ เข้าใจ และสามารถเขียนโครงการหรือการพัฒนาโครงการแบบ Online โดยบันทึกลงในเวปไซด์ Localfund.happynetwork.org

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับนายปริญญา ถิรวุฒิ และทีม 17 มี.ค. 2564 27 พ.ค. 2564

 

ติดตามการบันทึกแผนงานและการจัดทำโครงการผ่านระบบจากจนท./กรรมการกองทุน

 

จนท.สามารถเขียนโครงการผ่านระบบออนไลน์ได้

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินกองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองกวาง โดยนายอะหมัด หลีขาหรี 18 มี.ค. 2564 18 มี.ค. 2564

 

  • ทบทวนแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คลองกวาง
  • พูดคุย แลกเปลี่ยนและให้คำแนะนำทิศทาง แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปี 2564
  • ให้คำแนะนำการบริหารจัดการกองทุนฯ

 

  • คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ดำเนินงานกองทุน รู้และเข้าใจแนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปี 2564 สามารถนำมาปรับใช้ในการจัดทำแผนงานของกองทุนได้
  • เจ้าหน้าที่ดำเนินงานกองทุน รู้และเข้าใจวิธิการใช้งานและการบันทึกข้อมูลในเว็บไซต์

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบ Online ครั้งที่ 2 กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน อำเภอจะนะ โดยนายธนพนธ์ จรสุวรรณและทีม 19 มี.ค. 2564 11 เม.ย. 2564

 

สอนการเข้าเวปไซด์กองทุนแบบออนไลน์ เพื่อการพัฒนาโครงการการบันทึกกิจกรรมในระบบ การสรุปโครงการ รวมทั้งการปรับแก้ไขโครงการขอรับทุนที่ผ่านมาแล้วประสบกับปัญหาการเบิกจ่ายเงินให้ผู้ขอรับทุนล่าช้า การแลกเปล่ยนความคิดเห็นร่วมกันในการดำเนินโครงการ การเร่งรัดการลงบันทกข้อมูลประชากรแจ้ง สปสช.ให้ทันภายในเดือนเมษายน การโอนเงินสมทบเข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อบต.ตลิ่งชัน

 

มีผู้เข้าร่วมอบรมจากการกรรมการกองทุน ผู้ขอรับทุนจากภาคประชาชน ส่วนราชการ ศพด.รพ.สต. โรงเรียน มีความรู้ความเข้าใจ ในการบันทกข้อมูล กิจกรรม ลงในระบบแบบออนไลน์ และเร่งรัดการดำเนินการโอนเงินเข้าสมทบ และการบันทกข้อมูลประชากรส่งให้ สปสช.

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ โดย นางดวงใจ ่อ่อนแก้วและทีม 19 มี.ค. 2564 23 เม.ย. 2564

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ โดย นางดวงใจ ่อ่อนแก้วและทีม

  • พัฒนาโครงการในแผน และแนะระเบียบการขอโครงการ

 

เกิดโครงการพัฒนาในแผนต่างๆ ดังนี้
1โครงการรู้เร็ว รู้ทัน ป้องกันโรค แผนงานโรคเรื้อรัง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุประจำปีงบประมาณ 2564

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล อบต. เปียน โดยสุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน และทีม 19 มี.ค. 2564 22 เม.ย. 2564

 

ให้คำปรึกษาและแนะนำ การบริการจัดการกองทุนฯ สำหรับเจ้าหน้าที่ ที่มารับผิดชอบใหม่
แนะนำการทำแผนกการ การบันทึกแผน และพัฒนาโครงการในระบบ

 

ผู้รับผิดชอบงานกองทุน เข้าใจและสามารถใช้งานเวปไซต์ และรับไปดำเนินการ ไปปรับและเพิ่มเติมข้อมูลให้ถูกต้องและครบถ้วน

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลคูหาใต้ โดยนางสาวปราณี วุ่นฝ่าย และทีม 19 มี.ค. 2564 19 มี.ค. 2564

 

.

 

.

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบ Online ครั้งที่ 1 เทศบาลเมืองสิงหนคร โดย นางสาวบารีย๊ะ ยาดำ ,นางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ และนางสาวจุฑา สังขชาติ 23 มี.ค. 2564 23 มี.ค. 2564

 

แนะนำการเขียนโครงการและพัฒนาโครงการในระบบ

 

ได้พัฒนาโครงการลงในระบบตามแผนงานของแต่โครงการที่เข้ามาของเทศบาลเมืองสิงหนครใน ปี 2564 ดังนี้
-แผนงานการบริหารจัดการกองทุนของเทศบาลเมืองสิงหนครปี 2564
-แผนงานโรครื้อรัง ปี 2564 เทศบาลเมืองสิงหนคร
-แผนงานผู้สูงอายุ ปี 2564 เทศบาลเมืองสิงหนคร เช่น โครงการส่งเสริมสุขภาพสูงวัยไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย ปี 2564
-แผนงานประชาชนที่มีความเสี่ยงทั่วไป ปี 2564 เทศบาลเมืองสิงหนคร

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินกองทุนสุขภาพตำบลอบต.ประกอบ โดยนายอะหมัด หลีขาหรี 24 มี.ค. 2564 18 มี.ค. 2564

 

  • ทบทวนแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ประกอบ
  • พูดคุย แลกเปลี่ยนและให้คำแนะนำทิศทาง แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปี 2564
  • ให้คำแนะนำการบริหารจัดการกองทุนฯ

 

  • คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ดำเนินงานกองทุน รู้และเข้าใจแนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปี 2564 สามารถนำมาปรับใช้ในการจัดทำแผนงานของกองทุนได้
  • เจ้าหน้าที่ดำเนินงานกองทุน รู้และเข้าใจวิธิการใช้งานและการบันทึกข้อมูลในเว็บไซต์

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง โดยนายปริญญา ถิรวุฒิ และทีม 25 มี.ค. 2564 25 มี.ค. 2564

 

การฝึกการเขียนโครงการผ่านระบบออน์ไลน์  โดยเลือกจาก  1  โครงการที่มีผู้นำเสนอมาเขียนในรูปแบบของการพัฒนาโครงการ

 

จนท.และกรรมการกองทุนสามารถรู้และเข้าใจวิธีการฝึกการเขียนโครงการผ่านระบบออน์ไลน์  โดยเลือกจาก  1  โครงการที่มีผู้นำเสนอมาเขียนในรูปแบบของการพัฒนาโครงการ

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 25 มี.ค. 2564 28 พ.ค. 2564

 

1 แนะนำพี่เลี้ยงและวัตถุประสงค์การลงพื้นที่ของพี่เลี้ยงกองทุน ดังนี้

  1) เพื่อสนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินกองทุนสุขภาพตำบล

  2) เพื่อสนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ 2 ครั้ง

  3) เพื่อประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการกองทุนสุขภาพตำบล ให้เกิดโครงการต้นแบบ

  4) เพื่อผลักดันให้การดำเนินงานกองทุนดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่น ที่มีภาวะพึ่งพิง(LTC) สามารถจัดบริการแก่กลุ่มเป้าหมายภายใน 45 วัน

2 ทบทวนแผนและเพิ่มเติมแผนในระบบ โดยใช้ตัวอย่างโครงการบริหารจัดการกองทุน

3 แนะนำแนวทางการทำงานกองทุนฯ

 

1 พี่เลี้ยงและวัตถุประสงค์การลงพื้นที่ของพี่เลี้ยงกองทุน ดังนี้

  1) เพื่อสนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินกองทุนสุขภาพตำบล

  2) เพื่อสนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ 2 ครั้ง

  3) เพื่อประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการกองทุนสุขภาพตำบล ให้เกิดโครงการต้นแบบ

  4) เพื่อผลักดันให้การดำเนินงานกองทุนดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่น ที่มีภาวะพึ่งพิง(LTC) สามารถจัดบริการแก่กลุ่มเป้าหมายภายใน 45 วัน

2 เกิดการทบทวนแผนและเพิ่มเติมแผนในระบบ โดยใช้แผน COVID-19 และแนะนำพัฒนาโครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19

3 กองทุนฯเรียนรู้แนวทางการทำงานกองทุนฯ เพิ่มเติม

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว นายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล และทีม 26 มี.ค. 2564 16 มี.ค. 2564

 

1.ชี้แจงตัวชี้วัดการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลหรือพื้นที่ ประจำปี 2564 2.แนะนำการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลหรือพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพ 3.แนะนำการจัดทำแผนสุขภาพในระบบ"กองทุนสุขภาพตำบล" การจัดทำแผนการเงิน ประจำปี 2564 4.แนะนำการเขียนโครงการผ่านระบบ"กองทุนสุขภาพตำบล"

 

1.ผู้บริหารอบต.บ้านขาว มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลหรือพื้นที่ ประจำปี 2564 2.เจ้าหน้าที่และผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลหรือพื้นที่ สามารถจัดทำแผนสุขภาพ เขียนโครงการผ่านระบบ"กองทุนสุขภาพตำบล" และจัดทำแผนการเงิน ประจำปี 2564 มีแผน 2 แผน คือแผนบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุน และแผนงานกิจกรรมทางกาย ปี 2564

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1อบต.วัดขนุน โดย นางสาวนลินี สังขชาติ นางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ และนางสาวบารีย๊ะ ยาดำ 26 มี.ค. 2564 28 พ.ค. 2564

 

1 ทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม
2 แนะนำระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ
3 แนะนำเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

1 เกิดการทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม โดยใช้โครงการผู้สูงวัยคุณภาพดี ชีวีมีสุข ปี 2564

2 กองทุนฯเข้าใจระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 กองทุนฯเข้าใจเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1อบต.ประกอบ โดยนายอะหมัด หลีขาหรี 26 มี.ค. 2564 18 มี.ค. 2564

 

  1. แนะนำการบันทึกข้อมูลแผนสุขภาพตำบลในเว็บไซต์กองทุน
  2. แนะนำการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์

 

เจ้าหน้าที่กองทุนมีความรู้ ความเข้าใจวิธีการบันทึกข้อมูลแผนสุขภาพตำบลในเว็บไซต์กองทุน การเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ และสามารถปฏิบัติได้

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังใหญ่ โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 26 มี.ค. 2564 28 พ.ค. 2564

 

1 ทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม

2 แนะนำระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 แนะนำเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

1 พี่เลี้ยงและวัตถุประสงค์การลงพื้นที่ของพี่เลี้ยงกองทุน ดังนี้

1) เพื่อสนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินกองทุนสุขภาพตำบล

2) เพื่อสนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ 2 ครั้ง

3) เพื่อประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการกองทุนสุขภาพตำบล ให้เกิดโครงการต้นแบบ

4) เพื่อผลักดันให้การดำเนินงานกองทุนดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่น ที่มีภาวะพึ่งพิง(LTC) สามารถจัดบริการแก่กลุ่มเป้าหมายภายใน 45 วัน

2 เกิดการทบทวนแผนและเพิ่มเติมแผนในระบบโดยมช้แผนโควิด-19

3 กองทุนฯเรียนรู้แนวทางการทำงานกองทุนฯ เพิ่มเติม

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส โดยนายคฑาวุธ คงเย็น และทีม 26 มี.ค. 2564 22 เม.ย. 2564

 

แนะนำการเข้าเว็ปไชด์กองทุนแบบออนไลน์ การสนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ การสนับสนุนการจัดทำแผนการเงินประจำปี การแลกเปลียนความคิดเห็น การรับฟังข้อเสนอแนะ ตลอดจนปัญหาอุสรรคในการดำเนินงานทีผ่านมาและในปีงบประมาณ 2564

 

เจ้าหน้าทีของกองทุนฯ สามารถที่จะจัดทำแผนงานผ่านระบบโปรแกรมของกองทุนได้อย่างถูกต้อง มีการจัดทำแผนงานเงินประจำปี เพื่อเป็นกรอบในการดำเนินงานของกองทุนฯ

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล โดยนางเพียงขวัญ กาญจนเพ็ญ และทีม 26 มี.ค. 2564 26 มี.ค. 2564

 

1.ชี้แจงตัวชี้วัดการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลหรือพื้นที่ ประจำปี 2564 2.แนะนำการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลหรือพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพ 3.แนะนำการจัดทำแผนสุขภาพในระบบ"กองทุนสุขภาพตำบล" การจัดทำแผนการเงิน ประจำปี 2564 4.แนะนำการเขียนโครงการผ่านระบบ"กองทุนสุขภาพตำบล"

 

1.ผู้บริหารอบต.ชุมพลและคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลหรือพื้นที่ ประจำปี 2564 2.เจ้าหน้าที่และผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลหรือพื้นที่ สามารถจัดทำแผนสุขภาพ เขียนโครงการผ่านระบบ"กองทุนสุขภาพตำบล" และจัดทำแผนการเงิน ประจำปี 2564

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองแงะ โดย นางกรอุไร ใบตาเย็บ และนายณัฐเกียรติ ชำนิธุรการ 31 มี.ค. 2564 28 พ.ค. 2564

 

1 ทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม

2 แนะนำระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 แนะนำเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

1 เกิดการทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม ของเทศบาลตำบลคลองแงะมีแผนดังนี้

  • แผนงานอาหารและโภชนาการ ปี 2564
  • แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด ปี 2564
  • แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว ปี 2564
  • แผนงานกิจกรรมทางกาย ปี 2564
  • แผนงานโรคเรื้อรัง ปี 2564
  • แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2564 และพัฒนา
    โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองแงะ 2 กองทุนฯเข้าใจระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 กองทุนฯเข้าใจเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระวะโดยนายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล และทีม 31 มี.ค. 2564 19 เม.ย. 2564

 

1.ชี้แจงตัวชี้วัดการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลหรือพื้นที่ ประจำปี 2564 2.แนะนำการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลหรือพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพ 3.แนะนำการจัดทำแผนสุขภาพในระบบ"กองทุนสุขภาพตำบล" การจัดทำแผนการเงิน ประจำปี 2564 4.แนะนำการเขียนโครงการผ่านระบบ"กองทุนสุขภาพตำบล"

 

1.ผู้บริหารอบต.ระวะ 1 ท่านมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลหรือพื้นที่ ประจำปี 2564 2.เจ้าหน้าที่และผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลหรือพื้นที่ สามารถจัดทำแผนสุขภาพ เขียนโครงการผ่านระบบ"กองทุนสุขภาพตำบล" และจัดทำแผนการเงิน ประจำปี 2564

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง โดย นางดวงใจ อ่อนแก้ว และทีม 31 มี.ค. 2564 16 เม.ย. 2564

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง โดย นางดวงใจ อ่อนแก้ว และทีม

 

-เกิดการพัฒนาโครงการในแผนโรคเรื้อรัง เพื่อรออนุมัติ โครงการโครงการเฝ้าระวังติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2564

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ทำนบ โดย นางสาวอารียา มามะ นางสาวบารีย๊ะ ยาดำ และนางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ 31 มี.ค. 2564 28 พ.ค. 2564

 

1 ทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม
2 แนะนำระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ
3 แนะนำเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

1 เกิดการทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม โดยใช้โครงการบริหารจัดการกองทุนฯ

2 กองทุนฯเข้าใจระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 กองทุนฯเข้าใจเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง โดยนางสุราลัย สุขแดง และทีม 31 มี.ค. 2564 28 พ.ค. 2564

 

1 ทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม

2 แนะนำระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 แนะนำเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

1 เกิดการทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม

2 กองทุนฯเข้าใจระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 กองทุนฯเข้าใจเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 อบต. เปียน โดยโดยสุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน และทีม 31 มี.ค. 2564 31 พ.ค. 2564

 

1 ทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม

2 แนะนำระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 แนะนำเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

1 เกิดการทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม

2 กองทุนฯเข้าใจระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 กองทุนฯเข้าใจเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 31 มี.ค. 2564 31 พ.ค. 2564

 

1 ทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม

2 แนะนำระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 แนะนำเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

1 เกิดการทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม ของเทศบาลตำบลคลองแงะมีแผนดังนี้


2 กองทุนฯเข้าใจระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 กองทุนฯเข้าใจเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 31 มี.ค. 2564 31 พ.ค. 2564

 

1 ทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม ในแผนงานโควิด-19 และช่วยแนะนำการพัฒนาโครงการโควิด 19

2 แนะนำระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 แนะนำเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

1 เกิดการทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม

2 กองทุนฯเข้าใจระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 กองทุนฯเข้าใจเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 31 มี.ค. 2564 28 พ.ค. 2564

 

1 ทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม

2 แนะนำระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 แนะนำเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

1 เกิดการทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม

2 กองทุนฯเข้าใจระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 กองทุนฯเข้าใจเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังใหญ่ โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 31 มี.ค. 2564 28 พ.ค. 2564

 

1 ทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม

2 แนะนำระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 แนะนำเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

1 เกิดการทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม โดยใช้โครงการโควิด -19 ในพื้นที่

2 กองทุนฯเข้าใจระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 กองทุนฯเข้าใจเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกระแสสินธุ์ โดยนายคฑาวุธ คงเย็น และทีม 31 มี.ค. 2564 22 เม.ย. 2564

 

การแนะนำการเข้าเว็ปไชด์กองทุนฯ
การสนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ การสับสนุนการจัดทำแผนการเงินประจำปี การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การรับฟังข้อเสนอแนะ ตลอดจนปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานที่ผ่านมา และในปีงบประมาณ 2564

 

เจ้าหน้าที่กองทุนฯ สามารถจัดทำแผนงานผ่านโปรแกรมของกองทุนฯ มีการจัดทำแผนการเงินประปี เพื่อเป็นกรอบในการดำเนินงานของกองทุนฯ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ โดยนายจำรัส หวังมณี และทีม 31 มี.ค. 2564 1 เม.ย. 2564

 

1.  ประสานงาน 2.  ประชุม 3.  สรุป ่(เนื้อหา รูปกิจกรรม แผนปฏิบัติการประชุมครั้งต่อไป)

 

  1. กองทุนร่วมเรียนรู้ระเบียบที่เกี่ยวข้อง เช่น ระเบียบ สปสช. ระเบียบ อปท. ให้สอดคล้องกับการดำเนินงานกองทุนฯ (โครงการของข้อ ( 1 -5 )
  2. การใช้จ่ายงบประมาณให้สอดคล้อง งบประมาณ สปสช. และงบ อปท. (เงินสนับสนุน,เงินสมทบ) แต่ละปี
  3. การพัฒนาการเขียนโครงการฯ ได้ถูกต้องทั้งในส่วนของเนื้อหา การใช้จ่าย และการรายงาน
  4. การคัดเลือกโครงการต้นแบบ (การดำเนินโครงการ ได้ถูกต้องตามปัญหาความต้องการ การได้รับประโยชน์ร่วมกันของกลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม พฤติกรรม การดูแลสุขภาพ ไม่ได้สิ้นสุดตามระยะดำเนินงานโครงการฯ แต่มีกิจกรรมต่อยอด ที่ปฏิบัติเห็นประโยชน์ที่อันจะเกิดขึ้นร่วมกัน)

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองแงะ โดย นางกรอุไร ใบตาเย็บ และนายณัฐเกียรติ ชำนิธุรการ 1 เม.ย. 2564 28 พ.ค. 2564

 

1 ทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม

2 แนะนำระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 แนะนำเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

1 เกิดการทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม โดยใช้โครงการโควิด -19 ในพื้นที่

2 กองทุนฯเข้าใจระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 กองทุนฯเข้าใจเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระวะโดยนายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล และทีม 1 เม.ย. 2564 19 เม.ย. 2564

 

  • แนะนำการจัดทำแผนการเงินกองทุนให้เป็นปัจจุบัน
  • แนะนำการเข้าเวปไซด์กองทุนแบบออนไลน์ เพื่อการจัดทำแผน การเพิ่มแผน การบันทึกข้อมูลในแผนให้สมบูรณ์
  • การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันในการดำเนินโครงการ การเร่งรัดการลงบันทกข้อมูลประชากรแจ้ง สปสช.ให้ทันภายในเดือนเมษายน การโอนเงินสมทบเข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อบต.ตระวะ

 

  • แนะนำการจัดทำแผนการเงินกองทุนให้เป็นปัจจุบัน ผู้บริหาร 1 คน เจ้าหน้าที 1 คน
  • แนะนำการเข้าเวปไซด์กองทุนแบบออนไลน์ เพื่อการจัดทำแผน การเพิ่มแผน การบันทึกข้อมูลในแผนให้สมบูรณ์ ได้แผนที่สมบูรณ์ จำนวน 2 แผน คือแผนบริหาร
  • การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันในการดำเนินโครงการ การเร่งรัดการลงบันทกข้อมูลประชากรแจ้ง สปสช.ให้ทันภายในเดือนเมษายน การโอนเงินสมทบเข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อบต.ตระวะ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองกวาง โดยนายอะหมัด หลีขาหรี 1 เม.ย. 2564 25 มี.ค. 2564

 

  1. แนะนำการบันทึกข้อมูลแผนสุขภาพตำบลในเว็บไซต์กองทุน
  2. แนะนำการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์

 

เจ้าหน้าที่กองทุนรู้และเข้าใจแนวทางการบันทึกข้อมูลแผนสุขภาพตำบลในเว็บไซต์กองทุน
การเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ และสามารถปฏิบัติได้

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง โดยนางสุราลัย สุขแดง และทีม 1 เม.ย. 2564 28 พ.ค. 2564

 

1 ทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม

2 แนะนำระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 แนะนำเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

1 เกิดการทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม โดยใช้โครงการโควิด -19 ในพื้นที่

2 กองทุนฯเข้าใจระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 กองทุนฯเข้าใจเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 1 เม.ย. 2564 28 พ.ค. 2564

 

  • แนะนำ ติดตาม ให้กองทุนฯ มีการเขียนโครงการ/และการพัฒนาโครงการในรูปแบบ ออนไลน์ เพิ่มมากขึ้น
  • แนะนำการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบ
  • แนะนำการบันทึกข้อมูลประชาชน
  • แนะนำการแต่งตั้งคณะกรรมการ แทนคนเดิมที่หมดวาระ
  • แนะนำการดูตัวอย่างโครงการต่างๆ ในระบบกองทุนฯ

 

  • กองทุนฯ มีการเขียนโครงการและพัฒนาโครงการในระบบมากขึ้น
  • กองทุนฯ มีการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบได้
  • กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลประชากร
  • กองทุนฯ มีการเร่งรัดเพื่อประชุมคัดเลือกกรรมการเพื่อแต่งตั้ง

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 โดยนางเพียงขวัญ กาญจนเพ็ญ และทีม 1 เม.ย. 2564 1 เม.ย. 2564

 

แนะนำการเขียนโครงการหรือการพัฒนาโครงการแบบ Online โดยบันทึกลงในเวปไซด์ Localfund.happynetwork.org แก่ กรรมการกองทุน ผู้ขอรับทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ  อบต.ชุมพล อำเภอสทิงพระ ในการขอรับการสนับสนุนหรือพัฒนาโครงการ

 

ผู้ขอรับทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ชุมพล อำเภอสทิงพระ เข้าใจ และสามารถเขียนโครงการหรือการพัฒนาโครงการแบบ Online โดยบันทึกลงในเวปไซด์  Localfund.happynetwork.org

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระวะโดยนายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล และทีม 2 เม.ย. 2564 26 เม.ย. 2564

 

  • แนะนำการเข้าเวปไซด์กองทุนแบบออนไลน์ เพื่อการพัฒนาโครงการการบันทึกกิจกรรมในระบบ การสรุปโครงการ รวมทั้งการปรับแก้ไขโครงการขอรับทุนที่ผ่านมาแล้วประสบกับปัญหาการเบิกจ่ายเงินให้ผู้ขอรับทุนล่าช้า
  • การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันในการดำเนินโครงการ การเร่งรัดการลงบันทกข้อมูลประชากรแจ้ง สปสช.ให้ทันภายในเดือนเมษายน และการโอนเงินสมทบเข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อบต.ตระวะ

 

  • เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อบต.ระวะ สามารถพัฒนาโครงการในระบบได้
  • คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อบต.ระวะ สามารถอนุมัติโครงการในระบบได้
  • กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อบต.ระวะ สามารถพัฒนาโครงการในระบบได้ จำนวน 26 โครงการ คือ 1.โครงการการร่วมใจป้องกันโรคติดเชื้้อไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19) 7 หมู่บ้าน และของอบต.ท่าบอน 1 โครงการ รวม 8 โครงการ 2.โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ประจำปีงบประมาณ 2564 3.โครงการผู้สูงวัย ใส่ใจสุขภาพ ม.1 - 4/ 4 โครงการ
    4.โครงการปูนแดงภูมิปัญญาไทยช่วยกำจัดลูกน้ำยุงลาย ปีงบประมาณ 2564 5.โครงการรู้เท่าทันวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2564 6.โครงการผู้ประกอบการใส่ใจ ผู้บริโภคปลอดภัย 7.โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย 8.โครงการอบรมผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ ตำบลระวะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2564 9.โครงการสร้างความรู้ให้ชุมชน ใช้ยาอย่างปลอดภัย 10.โครงการเด็ก/ผู้สูงวัย ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ ตำบลระวะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จำนวน 3 โครงการ 11.โครงการคัดกรองและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวตำบลระวะ ปี 2564 12.โครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2564 13.โครงการผู้สูงวัย ใส่ใจสุขภาพ หมู่ 1 – 7 ตำบลระวะ ปี 2564

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบ Online ครั้งที่ 2 กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ โดยนายธนพนธ์ จรสุวรรณ และทีม 2 เม.ย. 2564 11 เม.ย. 2564

 

สอนการเข้าเวปไซด์กองทุนแบบออนไลน์ เพื่อการพัฒนาโครงการการบันทึกกิจกรรมในระบบ การสรุปโครงการ รวมทั้งการปรับแก้ไขโครงการขอรับทุนที่ผ่านมาแล้วประสบกับปัญหาการเบิกจ่ายเงินให้ผู้ขอรับทุนล่าช้า การแลกเปล่ยนความคิดเห็นร่วมกันในการดำเนินโครงการ การเร่งรัดการลงบันทกข้อมูลประชากรแจ้ง สปสช.ให้ทันภายในเดือนเมษายน การโอนเงินสมทบเข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อบต.สะพานไม้แก่น

 

มีผู้เข้าร่วมอบรมจากการกรรมการกองทุน ผู้ขอรับทุนจากภาคประชาชน ส่วนราชการ ศพด.รพ.สต. โรงเรียน มีความรู้ความเข้าใจ ในการบันทกข้อมูล กิจกรรม ลงในระบบแบบออนไลน์ และเร่งรัดการดำเนินการโอนเงินเข้าสมทบ และการบันทกข้อมูลประชากรส่งให้ สปสช.

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินกองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพตำบลอบต.นาหมอศรีโดยนายอะหมัด หลีขาหรี 2 เม.ย. 2564 19 เม.ย. 2564

 

  • ทบทวนแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาหมอศรี
  • พูดคุย แลกเปลี่ยนและให้คำแนะนำทิศทาง แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปี 2564
  • ให้คำแนะนำการบริหารจัดการกองทุนฯ

 

  • ตัวแทนคณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ดำเนินงานกองทุน รู้และเข้าใจแนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปี 2564 สามารถนำมาปรับใช้ในการจัดทำแผนงานของกองทุนได้
  • เจ้าหน้าที่ดำเนินงานกองทุน รู้และเข้าใจวิธีการใช้งานและการบันทึกข้อมูลในเว็บไซต์

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา โดย นายสมโภช ยอดดี นางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์ และนางดวงใจ อ่อนแก้ว 2 เม.ย. 2564 2 เม.ย. 2564

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา โดย นายสมโภช ยอดดี
- แนะนำการพัฒนาโครงการในระบบกองทุนตามแผนงานที่สร้างไว้

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา โดย นายสมโภช ยอดดี

  • กองทุนฯ มีการพัฒนาโครงการในระบบกองทุนตามแผนงานโดยมีการพัฒนาโครงการของโรงเรียน รพสต. และกลุ่ม อสม และโครงการส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทม.ทุ่งตำเสา ประจำปี 2564/ โครงการเฝ้าระวังโภชนาการโรงเรียนบ้านวังพา

  • กองทุนและเครือข่ายต่างๆ มีความรู้ระเบียบกองทุนฯหลักประกันสุขภาพ ปี 2561

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส โดยนายคฑาวุธ คงเย็น และทีม 2 เม.ย. 2564 29 เม.ย. 2564

 

แนะนำการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการ แบบ 0nline โดยบันทึกลงในเว็ปไซด์กองทุนฯ ให้แก่ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ เพื่่อให้เจ้าหน้าที่ ที่่ดูแลระบบกองทุนฯ ได้ฝึกให้ผู้ขอรับทุนสามารถเขียนโครงการผ่านระบบกองทุนฯได้

 

จ้าหน้าทีมีความรู้ ความเข้าใจ การในการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการ แบบ 0nline และขยายแก่ผู้ขอรับทุนฯ ต่อไป

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบ Online ครั้งที่ 2 กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ฉาง อำเภอนาทวี โดยนายธนพนธ์ จรสุวรรณและทีม 7 เม.ย. 2564 7 เม.ย. 2564

 

สอนการเข้าเวปไซด์กองทุนแบบออนไลน์ เพื่อการพัฒนาโครงการการบันทึกกิจกรรมในระบบ การสรุปโครงการ รวมทั้งการปรับแก้ไขโครงการขอรับทุนที่ผ่านมาแล้วประสบกับปัญหาการเบิกจ่ายเงินให้ผู้ขอรับทุนล่าช้า การแลกเปล่ยนความคิดเห็นร่วมกันในการดำเนินโครงการ การเร่งรัดการลงบันทกข้อมูลประชากรแจ้ง สปสช.ให้ทันภายในเดือนเมษายน การโอนเงินสมทบเข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อบต.ฉาง

 

มีผู้เข้าร่วมอบรมจากการกรรมการกองทุน ผู้ขอรับทุนจากภาคประชาชน ส่วนราชการ ศพด.รพ.สต. โรงเรียน มีความรู้ความเข้าใจ ในการบันทกข้อมูล กิจกรรม ลงในระบบแบบออนไลน์ และเร่งรัดการดำเนินการโอนเงินเข้าสมทบ และการบันทกข้อมูลประชากรส่งให้ สปสช.

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว นายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล และทีม 8 เม.ย. 2564 21 พ.ค. 2564

 

  • แนะนำการเข้าเวปไซด์กองทุนแบบออนไลน์ เพื่อการพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมในระบบ การสรุปโครงการ รวมทั้งการปรับแก้ไขโครงการขอรับทุนที่ผ่านมาแล้วประสบกับปัญหาการเบิกจ่ายเงินให้ผู้ขอรับทุนล่าช้า
  • การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันในการดำเนินโครงการ การเร่งรัดการลงบันทกข้อมูลประชากรแจ้ง สปสช.ให้ทันภายในเดือนเมษายน และการโอนเงินสมทบเข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพ

 

  • เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อบต.บ้านขาว สามารถพัฒนาโครงการในระบบได้
  • คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อบต.บ้านขาว สามารถอนุมัติโครงการในระบบได้
  • กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อบต.บ้านขาว สามารถพัฒนาโครงการในระบบได้ จำนวน 1 โครงการ คือ โครงการบริหารจัดการของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านขาว ปี 2564 งบประมาณ 45,000 บาท

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบ Online ครั้งที่ 2กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คู อำเภอจะนะ โดยนายธนพนธ์ จรสุวรรณและทีม 8 เม.ย. 2564 11 เม.ย. 2564

 

สอนการเข้าเวปไซด์กองทุนแบบออนไลน์ เพื่อการพัฒนาโครงการการบันทึกกิจกรรมในระบบ การสรุปโครงการ รวมทั้งการปรับแก้ไขโครงการขอรับทุนที่ผ่านมาแล้วประสบกับปัญหาการเบิกจ่ายเงินให้ผู้ขอรับทุนล่าช้า การแลกเปล่ยนความคิดเห็นร่วมกันในการดำเนินโครงการ การเร่งรัดการลงบันทกข้อมูลประชากรแจ้ง สปสช.ให้ทันภายในเดือนเมษายน การโอนเงินสมทบเข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อบต.คู

 

มีผู้เข้าร่วมอบรมจากการกรรมการกองทุน ผู้ขอรับทุนจากภาคประชาชน ส่วนราชการ ศพด.รพ.สต. โรงเรียน มีความรู้ความเข้าใจ ในการบันทกข้อมูล กิจกรรม ลงในระบบแบบออนไลน์ และเร่งรัดการดำเนินการโอนเงินเข้าสมทบ และการบันทกข้อมูลประชากรส่งให้ สปสช.

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ โดยนายจำรัส หวังมณี และทีม 8 เม.ย. 2564 1 เม.ย. 2564

 

  • แนะนำเขียนโครงการอนุมัติให้สมบูรณ์ และแนะนำการบันทึกกิจกรรมไปสู่การประเมินคุณค่าโครงการ

 

  • กองทุนฯสามารถเพิมเติมโครงการอนุมัติให้มีข้อมูลสมบูรณ์ และสามารถบันทึกกิจกรรมไปสู่การประเมินคุณค่าโครงการ
  • กองทุนมีความรู้เรื่องการบันทึกจำนวนประชากรและสามารถบันทึกในระบบได้
  • กองทุนฯเรียนรู้การแต่งตั้งกรรมการชุดใหม่ในระบบ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 อบต.วัดขนุน โดย นางสาวนลินี สังขชาติ นางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ และนางสาวบารีย๊ะ ยาดำ 9 เม.ย. 2564 28 พ.ค. 2564

 

  • แนะนำ ติดตาม ให้กองทุนฯ มีการเขียนโครงการ/และการพัฒนาโครงการในรูปแบบ ออนไลน์ เพิ่มมากขึ้น
  • แนะนำการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบ
  • แนะนำการบันทึกข้อมูลประชาชน
  • แนะนำการแต่งตั้งคณะกรรมการ แทนคนเดิมที่หมดวาระ
  • แนะนำการดูตัวอย่างโครงการต่างๆ ในระบบกองทุนฯ

 

  • กองทุนฯ มีการเขียนโครงการและพัฒนาโครงการในระบบมากขึ้นใน โครงการผู้สูงวัยคุณภาพดี ชีวีมีสุข ปี 2564

  • กองทุนฯ มีการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบได้

  • กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลประชากร
  • กองทุนฯ มีการเร่งรัดเพื่อประชุมคัดเลือกกรรมการเพื่อแต่งตั้ง

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา โดย นายสมโภช ยอดดี นางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์ และนางดวงใจ อ่อนแก้ว 9 เม.ย. 2564 28 พ.ค. 2564

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา โดย นายสมโภช ยอดดี

  • แนะนำเขียนโครงการอนุมัติให้สมบูรณ์ และแนะนำการบันทึกกิจกรรมไปสู่การประเมินคุณค่าโครงการ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา โดย นายสมโภช ยอดดี

  • กองทุนฯสามารถเพิมเติมโครงการอนุมัติให้มีข้อมูลสมบูรณ์ และสามารถบันทึกกิจกรรมไปสู่การประเมินคุณค่าโครงการ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 อบต. เปียน โดยโดยสุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน และทีม 9 เม.ย. 2564 22 เม.ย. 2564

 

แนะนำพัฒนาโครงการในแผน และการเขียนโครงการ ส่งกองทุนฯเพิ่มเติม

 

  • พัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม
  • การเขียนโครงการส่งกองทุนฯ
  • กองทุนฯเข้าใจเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 9 เม.ย. 2564 28 พ.ค. 2564

 

1 ทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม

2 แนะนำระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 แนะนำเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

1 เกิดการทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติมบริหารจัดการและพัฒนาโครงการบริหารจัดการกองทุนฯ ปี 2564

2 กองทุนฯเข้าใจระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 กองทุนฯเข้าใจเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกระแสสินธุ์ โดยนายคฑาวุธ คงเย็น และทีม 9 เม.ย. 2564 29 เม.ย. 2564

 

แนะนำการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการ แบบ 0nline โดยบันทึกลงในเว็ปไซด์กองทุนฯ ให้แก่ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ เพื่่อให้เจ้าหน้าที่ ที่่ดูแลระบบกองทุนฯ ได้ฝึกให้ผู้ขอรับทุนสามารถเขียนโครงการผ่านระบบกองทุนฯได้

 

เจ้าหน้าทีมีความรู้ ความเข้าใจ การในการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการ แบบ 0nline และขยายแก่ผู้ขอรับทุนฯ ต่อไป

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 เทศบาลตำบลป่าขาด โดยนางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ และทีม 9 เม.ย. 2564 27 พ.ค. 2564

 

  1. แนะนำการพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 ในแผนบริการจัดการ และพัฒนาโครงการบริหารจัดการกองทุนฯ อบต.ป่าขาด

 

กองทุนฯ มีการพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 ในแผนบริการจัดการ และพัฒนาโครงการบริหารจัดการกองทุนฯ อบต.ป่าขาด

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ทำนบ โดย นางสาวอารียา มามะ นางสาวบารีย๊ะ ยาดำ และนางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ 15 เม.ย. 2564 28 พ.ค. 2564

 

  • แนะนำ ติดตาม ให้กองทุนฯ มีการเขียนโครงการ/และการพัฒนาโครงการในรูปแบบ ออนไลน์ เพิ่มมากขึ้น
  • แนะนำการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบ
  • แนะนำการบันทึกข้อมูลประชาชน
  • แนะนำการแต่งตั้งคณะกรรมการ แทนคนเดิมที่หมดวาระ
  • แนะนำการดูตัวอย่างโครงการต่างๆ ในระบบกองทุนฯ

 

  • กองทุนฯ มีการเขียนโครงการและพัฒนาโครงการในระบบมากขึ้นใน โครงการผู้สูงวัยคุณภาพดี ชีวีมีสุข ปี 2564

  • กองทุนฯ มีการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบได้

  • กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลประชากร
  • กองทุนฯ มีการเร่งรัดเพื่อประชุมคัดเลือกกรรมการเพื่อแต่งตั้ง

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพตำบลอบต.นาหมอศรีโดยนายอะหมัด หลีขาหรี 15 เม.ย. 2564 19 เม.ย. 2564

 

  1. แนะนำการบันทึกข้อมูลแผนสุขภาพตำบลในเว็บไซต์กองทุน
  2. แนะนำการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์

 

เจ้าหน้าที่กองทุนรู้ และเข้าใจการบันทึกข้อมูลแผนสุขภาพตำบลในเว็บไซต์กองทุน การเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ และสามารถปฎิบัติได้

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ โดย นางดวงใจ ่อ่อนแก้วและทีม 15 เม.ย. 2564 23 เม.ย. 2564

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ โดย นางดวงใจ ่อ่อนแก้วและทีม

  • แนะการบันทึกกิจกรรมในระบบ และการประเมินคุณค่าโครงการ
  • ติดตามการคีย์ข้อมูลประชากรในระบบ
  • ติดตามการเปลี่ยนแปลงรายชื่อกรรมการในระบบ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ โดย นางดวงใจ ่อ่อนแก้วและทีม

  • เกิดแนะการบันทึกกิจกรรมในระบบ และการประเมินคุณค่าโครงการรู้เร็ว รู้ทัน ป้องกันโรค
  • เกิดติดตามการคีย์ข้อมูลประชากรในระบบ
  • เกิดติดตามการเปลี่ยนแปลงรายชื่อกรรมการในระบบ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส โดยนายคฑาวุธ คงเย็น และทีม 15 เม.ย. 2564 20 พ.ค. 2564

 

  • แนะนำ ติดตาม ให้กองทุนฯ มีการเขียนโครงการ/และการพัฒนาโครงการในรูปแบบ ออนไลน์ เพิ่มมากขึ้น
  • แนะนำการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบ
  • แนะนำการบันทึกข้อมูลประชาชน
  • แนะนำการแต่งตั้งคณะกรรมการ แทนคนเดิมที่หมดวาระ
  • แนะนำการดูตัวอย่างโครงการต่างๆ ในระบบกองทุนฯ

 

  • กองทุนฯ มีการเขียนโครงการและพัฒนาโครงการในระบบมากขึ้น
  • กองทุนฯ มีการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบได้
  • กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลประชากร
  • กองทุนฯ มีการเร่งรัดเพื่อประชุมคัดเลือกกรรมการเพื่อแต่งตั้ง

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง โดยนางสุราลัย สุขแดง และทีม 16 เม.ย. 2564 28 พ.ค. 2564

 

  • แนะนำ ติดตาม ให้กองทุนฯ มีการเขียนโครงการ/และการพัฒนาโครงการในรูปแบบ ออนไลน์ เพิ่มมากขึ้น
  • แนะนำการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบ
  • แนะนำการบันทึกข้อมูลประชาชน
  • แนะนำการแต่งตั้งคณะกรรมการ แทนคนเดิมที่หมดวาระ
  • แนะนำการดูตัวอย่างโครงการต่างๆ ในระบบกองทุนฯ

 

  • กองทุนฯ มีการเขียนโครงการและพัฒนาโครงการในระบบมากขึ้นใน โครงการควบคุมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
  • กองทุนฯ มีการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบได้
  • กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลประชากร
  • กองทุนฯ มีการเร่งรัดเพื่อประชุมคัดเลือกกรรมการเพื่อแต่งตั้ง

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 16 เม.ย. 2564 31 พ.ค. 2564

 

  • แนะนำ ติดตาม ให้กองทุนฯ มีการเขียนโครงการ/และการพัฒนาโครงการในรูปแบบ ออนไลน์ เพิ่มมากขึ้น
  • แนะนำการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบ
  • แนะนำการบันทึกข้อมูลประชาชน
  • แนะนำการแต่งตั้งคณะกรรมการ แทนคนเดิมที่หมดวาระ
  • แนะนำการดูตัวอย่างโครงการต่างๆ ในระบบกองทุนฯ

 

  • กองทุนฯ มีการเขียนโครงการและพัฒนาโครงการในระบบมากขึ้นใน โครงการบริหารจัดการกองทุน
  • กองทุนฯ มีการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบได้
  • กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลประชากร
  • กองทุนฯ มีการเร่งรัดเพื่อประชุมคัดเลือกกรรมการเพื่อแต่งตั้ง

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะทิ้งพระ โดยนายศุภชัย เผือกผ่องและทีม 19 เม.ย. 2564 19 เม.ย. 2564

 

  • ทบทวนแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.จะทิ้งพระ - พูดคุย แลกเปลี่ยนและให้คำแนะนำทิศทาง แนวทางการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปี 2564
  • ให้คำแนะนำการบริหารจัดการกองทุนฯ

 

.สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลย์ ครั้งที่ 2

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 19 เม.ย. 2564 19 พ.ค. 2564

 

1 ทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการครั้งที่ 1

2 แนะนำระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

 

1 เกิดการทบทวนการพัฒนาโครงการในแผนงานโครงการประชุมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคCOVID19แก่เครือข่ายชุมชนปี2564

2 เจ้าหน้าที่เข้าใจระเบียบการของบกองทุนฯ และหลักการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะทิ้งพระ โดยนายศุภชัย เผือกผ่องและทีม 19 เม.ย. 2564 19 พ.ค. 2564

 

  1. แนะนำการพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 เทศบาลตำบลจะทิ้งพระ
  2. แนะนำการบันทึกกิจกรรมในระบบ กองทุนฯ เทศบาลตำบลจะทิ้งพระ
  3. แนะนำการคีย์ข้อมูลประชากร ณ วันที่ 1เมษายน 2564
  4. แนะนำการแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ เทศบาลตำบลจะทิ้งพระชุดใหม่
  5. กองทุนฯเทศบาลตำบลจะทิ้งพระ รู้หลักการประเมินคุณค่าโครงการ

 

  1. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง พัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ในแผนโควิด19
  2. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง การบันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์กองทุนเทศบาลตำบลจะทิ้งพระ และให้ไปดูตัวอย่างการบันทึกกิจกรรมในกองทุนอื่นในระบบ
  3. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง การคีย์ข้อมูลประชากร ณ วันที่ 1เมษายน 2564
  4. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ เทศบาลตำบลจะทิ้งพระ ชุดใหม่
  5. กองทุนฯเทศบาลตำบลจะทิ้งพระ รู้หลักการประเมินคุณค่าโครงการ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบ Online ครั้งที่ 2เทศบาลเมืองสิงหนคร โดย นางสาวบารีย๊ะ ยาดำ ,นางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ และนางสาวจุฑา สังขชาติ 20 เม.ย. 2564 20 เม.ย. 2564

 

แนะนำเจ้าหน้าที่ให้มีการพัฒนาโครงการในระบบ ครั้งที่ 2

 

แนะนำการบันทึกการดำเนินการโครงการลงในระบบ และแนะนำแนวทางการประเมินโครงการ
โดยมีการคัดเลือกโครงการสำหรับการประเมินของกองทุน คือ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพในการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เบาหวาน ความดัน มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก  ซึ่งอยู่ในแผนงานโรคเรื้อรัง  รับผิดชอบโครงการโดย  รพ.สต.ชิงโค

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง โดย นางดวงใจ อ่อนแก้ว และทีม 21 เม.ย. 2564 16 เม.ย. 2564

 

  • แนะนำการพัฒนาโครงการในระบบ และการบันทึกภาพกิจกรรมในระบบ ในโครงการของ รพ.สต. โรงเรียนในพื้นที่ และแนะนำการประเมินคุณค่าโ๕รงการในระบบ โดยมีการชีแจงให้เจ้าหน้าที่กองทุฯ คัดเลือกโครงการให้พี่เลี้ยงประเมินคุณค่าโครงการในอนาคต
  • แนะนำการคีย์ข้อมูลประชากรในระบบ
  • การปิดโครงการในระบบ
  • การบันทึกรายละเอียด ฎีกา ใบสำคัญรับเงินหลักฐานการเงิน
  • แนะนำการแก้ไขกรรมการการกองทุนฯ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2

  • รพ.สต. โรงเรียนในพื้นที่ สามารถบันทึกกิจกรรมในระบบ และสามารถการประเมินคุณค่าโครงการในระบบได้
  • กองทุนสามารถคีย์ข้อมูลประชากรในระบบได้
  • กองทุนสามารถปิดโครงการในระบบได้
  • กองทุนฯ ทราบวิธีการบันทึกรายละเอียด ฎีกา ใบสำคัญรับเงินหลักฐานการเงิน
  • กองทุนฯ ทราบวิธีการแก้ไขกรรมการการกองทุนฯ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2อบต.ประกอบ โดยนายอะหมัด หลีขาหรี 22 เม.ย. 2564 29 เม.ย. 2564

 

  1. แนะนำการพัฒนาโครงการแบบออนไลน์
  2. แนะนำการบันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์กองทุน

 

เจ้าหน้าที่กองทุนและผู้รับทุนมีความรู้ ความเข้าใจการพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ การบันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์กองทุน และสามารถปฏิบัติได้

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา โดย นายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 22 เม.ย. 2564 28 พ.ค. 2564

 

1 ทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม

2 แนะนำระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 แนะนำเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

1 เกิดการทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม ในแผนบริการจัดการกองทุนฯ และพัฒนาโครงการบริหารจัดการกองทุนให้สอดคล้องกับหน้าติดตามโครงการ

2 กองทุนฯเข้าใจระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 กองทุนฯเข้าใจเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพตำบลอบต.นาหมอศรีโดยนายอะหมัด หลีขาหรี 23 เม.ย. 2564 26 เม.ย. 2564

 

  1. แนะนำการพัฒนาโครงการแบบออนไลน์
  2. แนะนำการบันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์กองทุน

 

เจ้าหน้าที่กองทุนและผู้รับทุนมีความรู้ ความเข้าใจการพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ การบันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์กองทุน และสามารถปฏิบัติได้

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังใหญ่ โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 23 เม.ย. 2564 28 พ.ค. 2564

 

  • แนะนำ ติดตาม ให้กองทุนฯ มีการเขียนโครงการ/และการพัฒนาโครงการในรูปแบบ ออนไลน์ เพิ่มมากขึ้น
  • แนะนำการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบ
  • แนะนำการบันทึกข้อมูลประชาชน
  • แนะนำการแต่งตั้งคณะกรรมการ แทนคนเดิมที่หมดวาระ
  • แนะนำการดูตัวอย่างโครงการต่างๆ ในระบบกองทุนฯ

 

  • กองทุนฯ มีการเขียนโครงการและพัฒนาโครงการในระบบมากขึ้น
  • กองทุนฯ มีการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบได้
  • กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลประชากร
  • กองทุนฯ มีการเร่งรัดเพื่อประชุมคัดเลือกกรรมการเพื่อแต่งตั้ง

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกระแสสินธุ์ โดยนายคฑาวุธ คงเย็น และทีม 23 เม.ย. 2564 20 พ.ค. 2564

 

  • แนะนำ ติดตาม ให้กองทุนฯ มีการเขียนโครงการ/และการพัฒนาโครงการในรูปแบบ ออนไลน์ เพิ่มมากขึ้น
  • แนะนำการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบ
  • แนะนำการบันทึกข้อมูลประชาชน
  • แนะนำการแต่งตั้งคณะกรรมการ แทนคนเดิมที่หมดวาระ
  • แนะนำการดูตัวอย่างโครงการต่างๆ ในระบบกองทุนฯ

 

  • กองทุนฯ มีการเขียนโครงการและพัฒนาโครงการในระบบมากขึ้น
  • กองทุนฯ มีการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบได้
  • กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลประชากร
  • กองทุนฯ มีการเร่งรัดเพื่อประชุมคัดเลือกกรรมการเพื่อแต่งตั้ง

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล โดยนางเพียงขวัญ กาญจนเพ็ญ และทีม 23 เม.ย. 2564 23 เม.ย. 2564

 

แนะนำการเข้าเวปไซด์กองทุนแบบออนไลน์ เพื่อการพัฒนาโครงการการบันทึกกิจกรรมในระบบ การสรุปโครงการ รวมทั้งการปรับแก้ไขโครงการขอรับทุนที่ผ่านมาแล้วประสบกับปัญหาการเบิกจ่ายเงินให้ผู้ขอรับทุนล่าช้า การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันในการดำเนินโครงการ การเร่งรัดการลงบันทกข้อมูลประชากรแจ้ง สปสช.ให้ทันภายในเดือนเมษายน การโอนเงินสมทบเข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อบต.ชุมพล

 

  • เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อบต.ชุมพล สามารถพัฒนาโครงการในระบบได้
  • คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อบต.ชุมพล สามารถอนุมัติโครงการในระบบได้
  • กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อบต.ชุมพล สามารถสรุปโครงการในระบบได้

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลคูหาใต้ โดยนางสาวปราณี วุ่นฝ่าย และทีม 23 เม.ย. 2564 27 พ.ค. 2564

 

  • แนะนำ ติดตาม ให้กองทุนฯ มีการเขียนโครงการ/และการพัฒนาโครงการในรูปแบบ ออนไลน์ เพิ่มมากขึ้น
  • แนะนำการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบ
  • แนะนำการบันทึกข้อมูลประชาชน
  • แนะนำการแต่งตั้งคณะกรรมการ แทนคนเดิมที่หมดวาระ
  • แนะนำการดูตัวอย่างโครงการต่างๆ ในระบบกองทุนฯ

 

  • กองทุนฯ มีการเขียนโครงการและพัฒนาโครงการในระบบมากขึ้น
  • กองทุนฯ มีการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบได้
  • กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลประชากร
  • กองทุนฯ มีการเร่งรัดเพื่อประชุมคัดเลือกกรรมการเพื่อแต่งตั้ง

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 เทศบาลตำบลป่าขาด โดยนางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ และทีม 23 เม.ย. 2564 27 พ.ค. 2564

 

  1. แนะนำการพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 อบต.ป่าขาด
  2. แนะนำการบันทึกกิจกรรมในระบบ กองทุนฯ อบต.ป่าขาด
  3. แนะนำการคีย์ข้อมูลประชากร ณ วันที่ 1เมษายน 2564
  4. แนะนำการแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ อบต.ป่าขาดชุดใหม่
  5. กองทุนฯอบต.ป่าขาด รู้หลักการประเมินคุณค่าโครงการ

 

  1. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง พัฒนาโครงการแบบออนไลน์ แผนบริหารจัดการกองทุนฯ
  2. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง การบันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์กองทุนอบต.ป่าขาด และให้ไปดูตัวอย่างการบันทึกกิจกรรมในกองทุนอื่นในระบบ
  3. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง การคีย์ข้อมูลประชากร ณ วันที่ 1เมษายน 2564
  4. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ อบต.ป่าขาด ชุดใหม่
  5. กองทุนฯอบต.ป่าขาด รู้หลักการประเมินคุณค่าโครงการ

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบลโดยนางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ และทีม 29 เม.ย. 2564 27 พ.ค. 2564

 

  1. แนะนำพี่เลี้ยงกองทุนฯ
  2. ประชุมชี้แจ้งการทำแผน ทบทวน แผนการเงิน
  3. ซักถามปัญหา

 

กองทุนฯ อบต ป่าขาด มีแผนในโครงการบริหารจัดการ เนื่องจากมีการอนุมัติโครงการไปแล้วหลายโครงการทางพี่เลี้ยงจึงแนะนำในการพัฒนาโครงการบริหารจัดการ และการใส่ข้อมูลโครงการที่อนุมัติแล้วให้ถูกต้อง และปิดโครงการในระบบ ตั่งแต่ปี 2560-2563 และทำการแนะนำการใช้งานระบบกองทุนฯ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองกวาง โดยนายอะหมัด หลีขาหรี 30 เม.ย. 2564 29 เม.ย. 2564

 

  1. แนะนำการพัฒนาโครงการแบบออนไลน์
  2. แนะนำการบันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์กองทุน

 

เจ้าหน้าที่กองทุนและผู้รับทุนมีความรู้ ความเข้าใจการพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ การบันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์กองทุน และสามารถปฏิบัติได้

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่ โดยนางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์และทีม 30 เม.ย. 2564 23 เม.ย. 2564

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่ โดยนางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์และทีม

  • แนะนำการบันทึกกิจกรรมในระบบกองทุนฯ และการพัฒนาโครงการ

  • แนะนำการบันทึกข้อมูลประชากกรในระบบ

  • แนะนำการบันทึกข้อมูลกรรมการชุดใหม่ในระบบ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่ โดยนางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์และทีม

  • กองทุนฯ มีความเข้าใจและสามารถบันทึกกิจกรรมในระบบกองทุนฯ และการพัฒนาโครงการในระบบในโครงการสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น และทันต่อสถานการณ์ได้
  • กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลประชากกรในระบบ
  • กองทุนฯมีความเข้าใจวิธีการบันทึกข้อมูลกรรมการชุดใหม่ในระบบ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองแงะ โดย นางกรอุไร ใบตาเย็บ และนายณัฐเกียรติ ชำนิธุรการ 6 พ.ค. 2564 28 พ.ค. 2564

 

  • แนะนำ ติดตาม ให้กองทุนฯ มีการเขียนโครงการ/และการพัฒนาโครงการในรูปแบบ ออนไลน์ เพิ่มมากขึ้น
  • แนะนำการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบ
  • แนะนำการบันทึกข้อมูลประชาชน
  • แนะนำการแต่งตั้งคณะกรรมการ แทนคนเดิมที่หมดวาระ
  • แนะนำการดูตัวอย่างโครงการต่างๆ ในระบบกองทุนฯ

 

  • กองทุนฯ มีการเขียนโครงการและพัฒนาโครงการในระบบมากขึ้นใน โครงการบริหารจัดการกองทุน
  • กองทุนฯ มีการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบได้
  • กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลประชากร
  • กองทุนฯ มีการเร่งรัดเพื่อประชุมคัดเลือกกรรมการเพื่อแต่งตั้ง

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 7 พ.ค. 2564 28 พ.ค. 2564

 

  • แนะนำ ติดตาม ให้กองทุนฯ มีการเขียนโครงการ/และการพัฒนาโครงการในรูปแบบ ออนไลน์ เพิ่มมากขึ้น
  • แนะนำการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบ
  • แนะนำการบันทึกข้อมูลประชาชน
  • แนะนำการแต่งตั้งคณะกรรมการ แทนคนเดิมที่หมดวาระ
  • แนะนำการดูตัวอย่างโครงการต่างๆ ในระบบกองทุนฯ

 

  • กองทุนฯ มีการเขียนโครงการและพัฒนาโครงการในระบบมากขึ้นในโครงการบริหารจัดการกองทุนฯ
  • กองทุนฯ มีการบันทึกกิจกรรม และการรายงานผลโครงการผ่านระบบได้
  • กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลประชากร
  • กองทุนฯ มีการเร่งรัดเพื่อประชุมคัดเลือกกรรมการเพื่อแต่งตั้ง

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินกองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองทราย โดย นายอรรถพงษ์ แวสือนิ 11 พ.ค. 2564 11 พ.ค. 2564

 

1.แจ้งเจ้าที่กองทุน 2.ประชุมชี้แจ้งการทำแผน ทบทวน แผนการเงิน 3.ซักถามปัญหา

 

เจ้าหน้าที่กองทุนมีความรู้การทำแผน ทบทวน แผนการเงินมากขึ้น และแนวทางการจัดเก็บเอกสารของกองทุนเพื่อให้หน่วยงานตรวจสอบ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองทราย โดย นายอรรถพงษ์ แวสือนิ 12 พ.ค. 2564 19 พ.ค. 2564

 

1 ทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม

2 แนะนำระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 แนะนำเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

1 เกิดการทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการในแผนเพิ่มเติม

2 กองทุนฯเข้าใจระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

3 กองทุนฯเข้าใจเรื่องการทำเอกสารงานกองทุนฯ การเบิกจ่ายเงิน

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2อบต.คลองทราย โดย นายอรรถพงษ์ แวสือนิ 12 พ.ค. 2564 19 พ.ค. 2564

 

  1. แนะนำการพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 อบต.คลองทราย
  2. แนะนำการบันทึกกิจกรรมในระบบ กองทุนฯ เอบต.คลองทราย
  3. แนะนำการคีย์ข้อมูลประชากร ณ วันที่ 1เมษายน 2564
  4. แนะนำการแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ อบต.คลองทราย ชุดใหม่
  5. กองทุนฯ อบต.คลองทราย รู้หลักการประเมินคุณค่าโครงการ

 

  1. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง พัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ในแผนโควิด19
  2. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง การบันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์อบต.คลองทราย และให้ไปดูตัวอย่างการบันทึกกิจกรรมในกองทุนอื่นในระบบ
  3. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง การคีย์ข้อมูลประชากร ณ วันที่ 1เมษายน 2564
  4. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ อบต.คลองทราย ชุดใหม่
  5. กองทุนฯ อบต.คลองทราย รู้หลักการประเมินคุณค่าโครงการ

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี โดย นายอรรถพงษ์ แวสือนิ 13 พ.ค. 2564 14 พ.ค. 2564

 

1.แจ้งเจ้าที่กองทุน 2.ประชุมชี้แจ้งการทำแผน ทบทวน แผนการเงิน 3.ซักถามปัญหา

 

กองทุนสามารถปรับแผนให้ถูกต้อง และสามารถว่างแนวทางแผนการประกอบการเบิกจ่าย การจัดเก็บเอกสารการเบิกจ่าย

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1เทศบาลตำบลนาทวี โดย นายอรรถพงษ์ แวสือนิ 14 พ.ค. 2564 19 พ.ค. 2564

 

1 ทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการครั้งที่ 1 เทศบาลตำบลนาทวี

2 แนะนำระเบียบการของบกองทุนฯ เทศบาลตำบลนาทวี และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

 

1 กองทุนฯ เทศบาลตำบลนาทวี ได้รับการทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และมีการพัฒนาโครงการครั้งที่ 1
2 กองทุนฯ ได้รับความรู้ ระเบียบการของบกองทุนฯ เทศบาลตำบลนาทวี และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ มากขึ้น

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2เทศบาลตำบลนาทวี โดย นายอรรถพงษ์ แวสือนิ 14 พ.ค. 2564 19 พ.ค. 2564

 

  1. แนะนำการพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 เทศบาลตำบลนาทวี
  2. แนะนำการบันทึกกิจกรรมในระบบ กองทุนฯ เทศบาลตำบลนาทวี
  3. แนะนำการคีย์ข้อมูลประชากร ณ วันที่ 1เมษายน 2564
  4. แนะนำการแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ เทศบาลตำบลนาทวีชุดใหม่
  5. กองทุนฯเทศบาลตำบลนาทวีรู้หลักการประเมินคุณค่าโครงการ

 

  1. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง พัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ในแผนโควิด19
  2. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง การบันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์เทศบาลตำบลนาทวี และให้ไปดูตัวอย่างการบันทึกกิจกรรมในกองทุนอื่นในระบบ
  3. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง การคีย์ข้อมูลประชากร ณ วันที่ 1เมษายน 2564
  4. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ เทศบาลตำบลนาทวี ชุดใหม่
  5. กองทุนฯเทศบาลตำบลนาทวี รู้หลักการประเมินคุณค่าโครงการ

 

สนับสนุนการทำแผนสุขภาพ/ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงิน กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ โดย นายณัฐเกียรติ ชำนิธุรการ นางกรอุไร ใบตาเย็บ 21 พ.ค. 2564 27 พ.ค. 2564

 

1.แจ้งเจ้าที่กองทุน 2.ประชุมชี้แจ้งการทำแผน ทบทวน แผนการเงิน 3.ซักถามปัญหา

 

กองทุนสามารถปรับแผนให้ถูกต้อง และสามารถว่างแนวทางแผนการประกอบการเบิกจ่าย การจัดเก็บเอกสารการเบิกจ่าย

โดยมีแผนดังนี้ 1แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ

2 แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ

3 แผนงานโรคเรื้อรัง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ

4 แผนงานผู้สูงอายุ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ

5 แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19 ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ

6 แผนงานอาหารและโภชนาการ ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ

7 แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ โดย นายณัฐเกียรติ ชำนิธุรการ นางกรอุไร ใบตาเย็บ 21 พ.ค. 2564 27 พ.ค. 2564

 

1 ทบทวนการพัฒนาโครงการในแผน และพัฒนาโครงการครั้งที่ 1

2 แนะนำระเบียบการของบกองทุนฯ และการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

 

1 เกิดการทบทวนการพัฒนาโครงการในแผนงานโรคเรื้อรัง ปี 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ ประจำปีงบประมาณ 2564 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ สตรียุคใหม่ใส่ใจป้องกันภัยมะเร็ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าโต้ งบประมาณ 25,480.00

2 เจ้าหน้าที่เข้าใจระเบียบการของบกองทุนฯ และหลักการเขียนโครงการส่งกองทุนฯ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ โดย นายณัฐเกียรติ ชำนิธุรการ นางกรอุไร ใบตาเย็บ 21 พ.ค. 2564 27 พ.ค. 2564

 

  1. แนะนำการพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 อบต.เขามีเกียรติ
  2. แนะนำการบันทึกกิจกรรมในระบบ กองทุนฯ อบต.เขามีเกียรติ
  3. แนะนำการคีย์ข้อมูลประชากร ณ วันที่ 1เมษายน 2564
  4. แนะนำการแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ อบต.เขามีเกียรติชุดใหม่
  5. กองทุนฯอบต.เขามีเกียรติ รู้หลักการประเมินคุณค่าโครงการ

 

  1. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง พัฒนาโครงการแบบออนไลน์ แผนโรคเรื้อรังในโครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจป้องกันภัยมะเร็ง
  2. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง การบันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์กองทุนอบต.เขามีเกียรติ และให้ไปดูตัวอย่างการบันทึกกิจกรรมในกองทุนอื่นในระบบ
  3. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง การคีย์ข้อมูลประชากร ณ วันที่ 1เมษายน 2564
  4. กองทุนฯ มีความรู้เรื่อง การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ อบต.เขามีเกียรติ ชุดใหม่
  5. กองทุนฯอบต.เขามีเกียรติ รู้หลักการประเมินคุณค่าโครงการ

 

สนับสนุนการเขียนโครงการ/การพัฒนาโครงการแบบออนไลน์ ครั้งที่ 2 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง โดยนายปริญญา ถิรวุฒิ และทีม 24 พ.ค. 2564 24 พ.ค. 2564

 

ติดตามการบันทึกแผนงานและการจัดทำโครงการผ่านระบบจากจนท./กรรมการกองทุน

 

จนท.สามารถบันทึกการเขียนโครงการออนไลน์ได้ - กองทุนมีการบันทึข้อมูลประชากรในระบบกองทุนฯ

 

ประชุมพี่เลี้ยงจังหวัดสงขลา(ประเมินติดตาม (Audit)) 1 ก.ค. 2564 18 ส.ค. 2564

 

ประชุมติดตามความคืบหน้าการลงพื้นที่พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลจังหวัดสงขลา  ประจำปี 2564 วันที่ 15 สิงหาคม ๒๕64 เวลา 09.30. น.

วัตถุประสงค์

1 เพื่อติดตามความคืบหน้าการลงพื้นที่ และวางแผนการประเมินโครงการและประเมินกองทุนฯ ในสถานการณ์โควิด-19

2 เพื่อชี้แจงแบบประเมินโครงการและแบบประเมินกองทุนฯ

3 แลกเปลี่ยนการทำงานเพื่อหาแนวทางในการลงพื้นที่ภายในวันที่ 30 สิงหาคม 2564

4 ระดมความคิดเรื่องปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานโครงการพี่เลี้ยงเพื่อสรุปในรายงานงวดที่ 3

เวลา กำหนดการ 09.15-09.30 น. ลงทะเบียน 09.30-09.45 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์ประชุมติดตามความคืบหน้าการลงพื้นที่พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลจังหวัดสงขลา  ประจำปี 2564
โดย นางสาวจุฑา สังขชาติ
09.45 -10.30 น. ติดตามความคืบหน้าการลงพื้นที่ และวางแผนการประเมินโครงการและประเมินกองทุนฯ ในสถานการณ์โควิด-19 โดยนางสาวบารีย๊ะ ยาดำ และนางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์
10.30-11.00 น. ชี้แจงแบบประเมินโครงการและแบบประเมินกองทุนฯ โดย นางดวงใจ อ่อนแก้ว
11.00-11.30 น. แลกเปลี่ยนการทำงานเพื่อหาแนวทางในการลงพื้นที่ภายในวันที่ 30 สิงหาคม 2564
11.30-12.00 น. ระดมความคิดเรื่องปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานโครงการพี่เลี้ยงเพื่อสรุปในรายงาน        งวดที่ 3

 

1 เกิดการติดตามความคืบหน้าการลงพื้นที่ และวางแผนการประเมินโครงการและประเมินกองทุนฯ ในสถานการณ์โควิด-19

2 เกิดการชี้แจงแบบประเมินโครงการและแบบประเมินกองทุนฯ

3 เกิดการแลกเปลี่ยนการทำงานเพื่อหาแนวทางในการลงพื้นที่ภายในวันที่ 30 สิงหาคม 2564

4 เกิดการระดมความคิดเรื่องปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานโครงการพี่เลี้ยงเพื่อสรุปในรายงานงวดที่ 3

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองแงะ โดย นางกรอุไร ใบตาเย็บ และนายณัฐเกียรติ ชำนิธุรการ 2 ก.ค. 2564 27 ส.ค. 2564

 

การประเมินผลโครงการและถอดบทเรียนโครงการ กองทุนเสุขภาพตามประเด็น ดังนี้
ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ
ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ
ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง
ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ
ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

การประเมินผลโครงการและถอดบทเรียนโครงการ กองทุนเสุขภาพตามประเด็น ดังนี้
ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ น้อย ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ โดย นายณัฐเกียรติ ชำนิธุรการ และนางกรอุไร ใบตาเย็บ 6 ก.ค. 2564 27 ส.ค. 2564

 

การประเมินผลโครงการและถอดบทเรียนโครงการ กองทุนเสุขภาพตามประเด็น ดังนี้
ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ
ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ
ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง
ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ
ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

การประเมินผลโครงการและถอดบทเรียนโครงการ กองทุนเสุขภาพตามประเด็น ดังนี้
ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ น้อย ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังใหญ่ โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 6 ก.ค. 2564 16 ส.ค. 2564

 

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ชื่อพี่เลี้ยง นายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม
ชื่อกองทุนฯ กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่ ผู้รับการประเมิน นางสาวศศิ รังษีสว่าง ตำแหน่ง เจ้าพนักงานสาธารรสุขปฏิบัติงาน      เบอร์โทรศัพท์ 096-9422577
ชื่อโครงการประเมิน โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกที่ 3 ปีงบประมาณ 2564 หน่วยงาน/องค์กรขอรับทุนฯ งานสาธารณสุข สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่
โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ มาก

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการกองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพอบต.ประกอบ โดยนายอะหมัด หลีขาหรี 10 ก.ค. 2564 10 ก.ค. 2564

 

การประเมินผลโครงการและถอดบทเรียนโครงการ กองทุนเสุขภาพตำบลประกอบ ตามประเด็น ดังนี้
ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ
ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ
ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง
ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ
ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ผลการประเมินผลโครงการและถอดบทเรียนโครงการ กองทุนเสุขภาพตำบลประกอบ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายลดเสี่ยงโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2563
หน่วยงาน/องค์กรขอรับทุนฯ กลุ่มบาสโลบ หมู่ที่ 5 6 7

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ
มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ
ปานกลาง

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง
ปานกลาง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ
น้อย

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ
ไม่มี

การประเมินคุณค่า
□ การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น ในการใช้ชีวิตประจำวัน
ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในแต่ละวัน

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระวะโดยนายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล และทีม 11 ก.ค. 2564 29 ก.ค. 2564

 

ทำความเข้าใจกับเลขากองทุน จนท. และผู้รับผิดชอบกองทุนเกี่ยวกับการประเมิน และทำความเข้าใจแบบประเมินโดยประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ อบต.ระวะ ผ่านระบบ Line(VDO call) เวลา 10.00 - 11.30 น.

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินโครงการตามแบบฟอร์ม โครงการจัดตั้งศูนย์กักกัน ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ อบต.ระวะ ผ่านระบบ Line(VDO call) เวลา 10.00 - 12.00 น.

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้ ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ ได้ระดับมาก ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ ได้ระดับมาก ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง ได้ระดับปานกลาง ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ ได้ระดับปานกลาง
ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ/การใช้งานระบบมีความยากและสับสน(จนทกองทุน) พี่เลี้ยงเสนอให้มีการโหลดเอกสารและรูปภาพที่เกี่ยวข้องกับโครงการให้มากขึ้น

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการกองทุนสุขภาพตำบลอบต.ทำนบ โดย นางสาวอารียา มามะ นางสาวบารีย๊ะ ยาดำ และนางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ 11 ก.ค. 2564 18 ส.ค. 2564

 

ทำความเข้าใจกับเลขากองทุน จนท. และผู้รับผิดชอบกองทุนเกี่ยวกับการประเมิน และทำความเข้าใจแบบประเมินโดยประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ทำความเข้าใจกับเลขากองทุน จนท. และผู้รับผิดชอบกองทุนเกี่ยวกับการประเมิน และทำความเข้าใจแบบประเมินโดยประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ น้อย

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 11 ก.ค. 2564 23 ส.ค. 2564

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนหลักประกันสุขภาพ โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนหลักประกันสุขภาพ โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ น้อย

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการเทศบาลเมืองสิงหนคร โดย นางสาวบารีย๊ะ ยาดำ ,นางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ และนางสาวจุฑา สังขชาติ 12 ก.ค. 2564 19 ส.ค. 2564

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสิงหนคร วันที่ 19 ส.ค.64 เวลา 13.00 - 16.00 น.

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสิงหนคร วันที่ 19 ส.ค.64 เวลา 13.00 - 16.00 น. ผ่านระบบออนไลน์ ZOOM ชื่อพี่เลี้ยง นางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์ เบอร์โทร 084-1960741
ชื่อกองทุนฯ กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองสิงหนคร ผู้รับการประเมิน นางสาวเรวดี เพ็ชรเสน และนางสาวศรัญญา หวันละเต๊ะ ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่งานกองทุน เบอร์โทรศัพท์ 085-3504342
ชื่อโครงการประเมิน โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพในการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เบาหวาน ความดัน มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก หน่วยงาน/องค์กรขอรับทุนฯ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชิงโค เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน □ ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
รายละเอียด..ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู็โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เบาหวาน ความดัน มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก สามารถไปติดตามเฝ่าระวังกลุ่มเสี่ยงและแนะนำให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสามารถดูแลตนเองได้

□ วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
รายละเอียด...มีการทดสอบก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการและจากการติดตามเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ / แนวทางพัฒนาต่อ...ต้องมีการรณรงค์และประชาสัมพันธ์ในพื้นที่ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความตระหนักในการดูแลตนเองมากขึ้น และสามารถนำความรู้ไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา โดย นายสมโภช ยอดดี นางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์ และนางดวงใจ อ่อนแก้ว 12 ก.ค. 2564 4 ส.ค. 2564

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา วันที่ 16 กค.64 ผ่านระบบ Zoom เวลา 10.00 - 12.00 น.

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ผลการประเมินโครงการประเมินโครงการเสริมพลังชุมชน สร้างเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย หน่วยงาน/องค์กรขอรับทุนฯ.......กองสาธารณสุขเทศบาลเมืองบ้านทุ่งตำเสา......................

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ มาก

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ ไม่มี

การประเมินคุณ ค่า

  • เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

□ ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
รายละเอียดผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพได้ตามหลัก 3 อ.. มีความรู้และเข้าใจในการดูแลตัวเองมากขึ้น/หลักฐาน.กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพที่ดีขึ้นลดผู้ป่วย NCD ในพื้นที่น้อยลง/แนวทางพัฒนาต่อควรมีการส่งเสริมให้ทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเพื่อสุขภาพคนในพื้นที่.


2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

□ การบริโภค
รายละเอียด ผู้เข้าร่วมโครงการที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนเสี่ยงพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ 2ส/หลักฐาน. /กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ดีขึ้นและมีการออกกำลังกายมากขึ้น แนวทางพัฒนาต่อ ควรมีการให้ความรู้เรื่อง 3 อ 2ส.อย่างต่อเนื่อง

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกระแสสินธุ์ โดยนายคฑาวุธ คงเย็น และทีม 12 ก.ค. 2564 12 ก.ค. 2564

 

-ประเมินโครงการกองทุนพีเลี้ยง กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกระแสสินธ์ุ
วันที่ 12 กรกฏาคม 2564 เวลา 09.30 น.
- ผ่านระบบออนไลน์ วีดีโอคอล ชื่อกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกระแสสินธ์ุ ผู้รับการประเมิน นางสาวเรวดี ประสานสงค์ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ
- ชื่อโครงการที่่ประเมิน การคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ตำบลกระแสสินธุ์ หน่วยงาน/องค์กรที่ขอรับทุน รพ.สต กระแสสินธุ์ โดยมีประเด็นดังนี้ ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ
ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ผลการประเมินดังนี้ ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ ได้ระดับมาก ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ ได้ระดับมาก ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง ได้ระดับมาก ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ ได้ระดับปานกลาง
ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ/ควรให้ออกแบบกิจกรรมที่มีความหลากหลาย

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่ โดยนางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์และทีม 12 ก.ค. 2564 25 ส.ค. 2564

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ น้อย

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง โดย นางดวงใจ อ่อนแก้ว และดวงดาว อุปสิทธิ์ 13 ก.ค. 2564 10 ส.ค. 2564

 

การประเมินโครงการกองทุนเทศบาลตำบลพะตง

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

  • ชื่อพี่เลี้ยง นางดวงใจ อ่อนแก้ว เบอร์โทร 099-1939893
  • ชื่อกองทุนฯ กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลพะตง ผู้รับการประเมิน นางสาวชลินทรา วิเชียร ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ เบอร์โทรศัพท์ 083-9595619
  • ชื่อโครงการประเมิน แก้ไขปัญหาความผิดปกติเกี่ยวกับสายตาในผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2563 หน่วยงาน/องค์กรขอรับทุนฯ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลพะตง

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ ปานกลาง

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ ไม่มี

การประเมินคุณ ค่า

  • เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

□ ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
รายละเอียด..มีการให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพทางสายตาในผู้สูงอายุ./หลักฐาน..จากการสังเกตพฤติกรรมผู้เข้าร่วมกิจกรรม....../แนวทางพัฒนาต่อ.....ควรมีการส่งเสริมการดูแลสุขภาพทางสายตามในผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องเพื่อแก้ไขความผิดปกติทางสายตา

□ การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น ในการใช้ชีวิตประจำวัน
รายละเอียด.......มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการในการดูสุขภาพทางสายตา เช่น การใช้สื่อออนไลน์ การดูหนังสือ หรือโทรทัศน์ในที่ที่มีแสงมาตรฐาน........./หลักฐาน....... ผู้สูงอายุที่ได้ตรวจสุขภาพสายตาและได้ใช้แว่นในการสวมใส่ ในการดำรงชีวิตประจำวันและลดความรุนแรงของค่าทางสายตา ทำให้ค่าสายตาดีขึ้น ทำให้ลดการเกิดอุบัติเหตุในผู้สูงอายุ

□ การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
รายละเอียด..มีการติดตามประเมินผลการใช้แว่นสายตาในผู้สูงอายุ...../หลักฐาน......ในกลุ่มผู้ที่ใช้แว่นตาในผู้สูงอายุในการทำกิจรรมต่างๆ เช่นการขับรถ การเย็บผ้า อ่านหนังสือ การทานยา หรือการเดินทางตามท้องถนน ทำให้ไม่เกิดความเครียดทางสายตา และอารมณ์ สามารถทำอะไรได้ด้วยตนเอง ทำให้เกิดคุณค่าในตัวเอง ......./แนวทางพัฒนาต่อ..ควรมีการส่งเสริมโครงการอย่างต่อเนื่องโดยการขยายกลุ่ม ซึ่งจากการทำโครงการมีกลุ่มที่มีปัญหาโรคทางดวงตาอื่นๆ ได้รับการส่งต่อ และสามารถทำโครงการอื่นๆ ในกลุ่มเสี่ยงทางอาชีพอื่นๆ ได้

□ วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
รายละเอียด...มีการบริหารจัดการการลงพื้นที่โดยการแบ่งกลุ่มเพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้สูงอายุ ..../หลักฐาน...จาการการพูดคุยกับผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ....../แนวทางพัฒนาต่อ...ควรมีการอำนวยความสะดวกเรื่องการรับส่งผู้สูงอายุในพื้นที่

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว นายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล และทีม 14 ก.ค. 2564 30 ก.ค. 2564

 

ทำความเข้าใจกับเลขากองทุน จนท. และผู้รับผิดชอบกองทุนเกี่ยวกับการประเมิน และทำความเข้าใจแบบประเมินโดยประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ อบต.บ้านขาว ผ่านระบบ Line(VDO call) เวลา 10.00 - 11.30 น.

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

.ประเมินโครงการตามแบบฟอร์ม โครงการการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ อบต.บ้านขาว ผ่านระบบ Line(VDO call) เวลา 10.00 - 11.30 น.

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้ ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ ได้ระดับปานกลาง ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ ได้ระดับมาก ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง ได้ระดับปานกลาง ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ ได้ระดับปานกลาง
ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ/ให้มีการโหลดเอกสารและรูปภาพที่เกี่ยวข้องกับโครงการให้มากขึ้น

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล โดยนางเพียงขวัญ กาญจนเพ็ญ และทีม 14 ก.ค. 2564 23 ส.ค. 2564

 

ทำความเข้าใจกับเลขากองทุน จนท. และผู้รับผิดชอบกองทุนเกี่ยวกับการประเมิน และทำความเข้าใจแบบประเมินโดยประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ อบต.ชุมพล

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

..ประเมินโครงการตามแบบฟอร์ม โครงการเพิ่มการเข้าถึงวัคซีนป้องกันโรคไวรัสโคโรนา Covid-19 xu2564 ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ อบต.ชุมพล

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้ ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ ได้ระดับปานกลาง ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ ได้ระดับปานกลาง ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง ได้ระดับปานกลาง ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ ได้ระดับน้อย ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ/ให้มีการโหลดเอกสารและรูปภาพที่เกี่ยวข้องกับโครงการให้มากขึ้น

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส โดยนายคฑาวุธ คงเย็น และทีม 16 ก.ค. 2564 16 ก.ค. 2564

 

-ประเมินโครงการกองทุนพีเลี้ยง กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเชิงแส วันที่ 16 กรกฏาคม 2564 เวลา 13.30 น.
- ผ่านระบบออนไลน์ วีดีโอคอล ชื่อกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเชิงแส ผู้รับการประเมิน นางวนิดา หนูรอด เจ้าหน้าที่กองทุนฯ
- ชื่อโครงการที่่ประเมิน เพชิญการระบาดของ COVID- 19 หน่วยงาน/องค์กรที่ขอรับทุน กองสาธารณสุข โดยมีประเด็นดังนี้ ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ
ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ผลการประเมินดังนี้ ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ ได้ระดับปานกลาง ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ ได้ระดับปานกลาง ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง ได้ระดับปานกลาง ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ ได้ระดับน้อย ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ/ควรใส่รายเอียดการดำเนินในระบบให้ครบถ้วน

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับนายปริญญา ถิรวุฒิ และทีม 17 ก.ค. 2564 30 ก.ค. 2564

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการที่ได้มีการดำเนินการเสร็จสิ้นไปแล้ว

 

ประชุมร่วมกับจนท.กองทุนและผู้รับทุนเกี่ยวกับการประเมินผลโครงการ  พบว่า -การบันทึกกิจกรรม  และสรุปโครงการ  มีการจัดส่งในรูปแบบของเอกสาร  ไม่ได้จัดทำในรูปแบบไฟล์ข้อมูลบันทึกในกิจกรรม  เอกสาร  รูปประกอบ  ทำเป็นเอกสารส่ง  ไม่ได้บันทึกกิจกรรมรูปแบบไฟล์ที่แ ยกประเภทไว้  โดยทำอยู่ในรูปไฟล์ข้อมูลรวมเท่านั้น

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ อบต.วัดขนุนโดย นางสาวนลินี สังขชาติ นางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ และนางสาวบารีย๊ะ ยาดำ 19 ก.ค. 2564 24 ส.ค. 2564

 

ทำความเข้าใจกับเลขากองทุน จนท. และผู้รับผิดชอบกองทุนเกี่ยวกับการประเมิน และทำความเข้าใจแบบประเมินโดยประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ทำความเข้าใจกับเลขากองทุน จนท. และผู้รับผิดชอบกองทุนเกี่ยวกับการประเมิน และทำความเข้าใจแบบประเมินโดยประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ น้อย

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการกองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพตำบลอบต.นาหมอศรีโดยนายอะหมัด หลีขาหรี 20 ก.ค. 2564 20 ก.ค. 2564

 

การประเมินผลโครงการและถอดบทเรียนโครงการ กองทุนเสุขภาพตำบลนาหมอศรี ตามประเด็น ดังนี้
ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ
ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ
ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง
ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ
ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ผลการประเมินผลโครงการและถอดบทเรียนโครงการ กองทุนเสุขภาพตำบลนาหมอศรี โครงการการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019(โควิด-19) ระลอกใหม่ ปีงบประมาณ 2564
หน่วยงาน/องค์กรขอรับทุนฯ  อบต.นาหมอศรี

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ
มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ
มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง
ปานกลาง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ
ปานกลาง

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ
ไม่มี

การประเมินคุณค่า
□ ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง และชุมชนสามารถจัดการตนเองในการป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 (COVID - 19)

□ การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น ในการใช้ชีวิตประจำวัน
ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการลดพฤติกรรมเสี่ยงเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 (COVID - 19)

□ วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ เกิดกลไกและการจัดการร่วมของ อปท. ฝ่ายปกครอง และผู้นำชุมชนในการป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 (COVID - 19)

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลคูหาใต้ โดยนางสาวปราณี วุ่นฝ่าย และทีม 20 ก.ค. 2564 27 ก.ค. 2564

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯเทศบาลตำบลคูหาใต้ วันที่ 16 กค.64 ผ่านระบบ Zoom เวลา 13.00 - 16.00 น.

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ผลการประเมิน

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ ปานกลาง

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ ปานกลาง

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง ปานกลาง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ น้อย

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ ปานกลาง

การประเมินคุณ ค่า

  • เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

□ ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

  • รายละเอียด......การส่งเสริมให้ชุมชนกลับมาใช้พืชสมุนไพรในการดูแลสุขภาพ
  • หลักฐาน.....คนในชุมชนพึ่งตนเองในการดูแลสุขภาพมากขึ้น จากสถานการณ์ที่แพทย์/โรงพยาบาลหลัก และโรงพยาบาลสนามมีไม่เพียงพอ
  • แนวทางพัฒนาต่อ.....โอกาสในการฟื้นฟูภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยและองค์ความรู้การดูแลสุขภาพมีมากขึ้น โดยการพัฒนาและต่อยอดในวงที่กว้างขวางมากขึ้น.....................

□ วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

  • รายละเอียด...การทำงานงานยังเป็นรูปแบบเดิมคือเน้นการประชุมคณะทำงาน ยังไม่เกิดมิติการสร้างนวัตกรรมหรือวิธีการทำงานแบบใหม่หรือการจัดการแบบใหม่................/หลักฐาน...การจัดประชุมเพื่อทำความเข้าใจหรือการอบรม ยังเป็นกิจกรรมหลัก
  • แนวทางพัฒนาต่อ...การยกระดับการทำงานหรือการคิดค้นวิธีการทำงานที่สอดคล้องกับสถานการณ์มากขึ้น...............................

□ เกิดแหล่งเรียนรู้ใหม่

  • องค์ความรู้ยังไม่ขยายผลไปในวงกว้าง ยังไม่มีแหล่งเรียนรู้ใหม่
  • หลักฐาน...................ยังไม่มีแหล่งเรียนรู้ใหม่
  • แนวทางพัฒนาต่อ.....การเชื่อมโยงการทำงานกับมิติอื่นๆ ในพื้นที่ และการบูรณาการการทำงานกับภาคีอื่นๆในระดับชุมชน


    • เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

□ การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
- รายละเอียด......มีการส่งเสริมการดูแลสุขภาพในการป้องกัน เฝ้าระวัง การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลอย่างต่อเนื่อง - หลักฐาน.....มีกิจกรรมต่อเนื่อง - แนวทางพัฒนาต่อ....การขยายผลในเชิงจำนวนในการส่งเสริมการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าขาด โดยน.ส.กรเกศ สมัครพงศ์ และทีม 20 ก.ค. 2564 23 ส.ค. 2564

 

ทำความเข้าใจกับเลขากองทุน จนท. และผู้รับผิดชอบกองทุนเกี่ยวกับการประเมิน และทำความเข้าใจแบบประเมินโดยประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

เจ้าหน้าที่กองทุนอบต.ป่าขาด ประเมินผลตามแบบฟอร์ม พี่เลี้ยงกองทุนเช็คข้อมูลตามแบบประเมินผล โดยเลือกกิจกรรมให้ความรู้การแพร่ระบาดไวรัสโคโรน่า และการสอนครู ก ทำแมส เพื่อให้นำไปขยายผลต่อในชุมชน พี่เลี้ยงได้สอบถามในการดำเนินกิจกรรมต่อเนื่องอย่างไร ทางอบต.มีแผนที่จะดำเนินการต่อด้านสมุนไพรต้านโควิดในปี65

 

ทำความเข้าใจกับเลขากองทุน จนท. และผู้รับผิดชอบกองทุนเกี่ยวกับการประเมิน และทำความเข้าใจแบบประเมินโดยประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ น้อย

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

โครงการที่ประเมิน มีการติดตามผลครู ก ในการให้ความรู้การสอนเย็บแมสให้คนในชุมชนได้ทำเพื่อใช้เองในช่วงสถานการณ์โควิด  และทางอบต.มีแผนที่จะดำเนินการต่อยอดในการปลูกสมุนไพรต้านโควิดในปี65

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการกองทุนสุขภาพตำบลอบต.คลองทราย โดย นายอรรถพงษ์ แวสือนิ 25 ก.ค. 2564 27 ส.ค. 2564

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ อบต คลองทราย ผ่านระบบ Zoom

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ อบต คลองทราย ผ่านระบบ Zoom

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ (มาก)

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ (มาก)

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง (มาก)

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ (น้อย)

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการกองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลนาทวี โดย นายอรรถพงษ์ แวสือนิ 25 ก.ค. 2564 9 ส.ค. 2564

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯเทศบาลตำบลนาทวี วันที่ 16 กค.64 ผ่านระบบ Zoom เวลา 10.00 - 12.00 น.

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ผลการประเมินโครงการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง ปานกลาง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ ปานกลาง

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ ไม่มี

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าชะมวง โดยนางสุราลัย สุขแดง และทีม 25 ก.ค. 2564 25 ส.ค. 2564

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ น้อย

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะทิ้งพระ โดยนายศุภชัย เผือกผ่องและทีม 26 ก.ค. 2564 10 ส.ค. 2564

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ ทต. จะทิ้งพระ ผ่านระบบ Zoom เวลา 10.00 - 12.00 น.

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯ ทต. จะทิ้งพระ ผ่านระบบ Zoom เวลา 10.00 - 12.00 น.

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ น้อย

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 26 ก.ค. 2564 26 ส.ค. 2564

 

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ น้อย

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ อบต. เปียน โดยโดยสุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน และทีม 26 ก.ค. 2564 25 ส.ค. 2564

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ น้อย

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง โดยนายปริญญา ถิรวุฒิ และทีม 27 ก.ค. 2564 29 ก.ค. 2564

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ

 

มีการบันทึกกิจกรรมที่ได้ดำเนินการแล้วเสร็จในรูปของไฟล์แยกตามกิจกรรม  ภาพรวมส่วนใหญ่บันทึกเป็นไฟล์รวม  ไม่ได้แยกตามกิจกรรม แนะนำการบันทึกแยกตามกิจกรรมที่ทำ  บันทึกรูป  เอกสารประกอบในแต่ละกิจกรรม แนะนำการสรุปโครงการและพการประเมินคุณค่า

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ และทีม 27 ก.ค. 2564 26 ส.ค. 2564

 

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ น้อย

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ โดยนายจำรัส หวังมณี และทีม 27 ก.ค. 2564 29 ก.ค. 2564

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯเทศบาลตำบลคูหาใต้ วันที่ 16 กค.64 ผ่านระบบ Zoom เวลา 13.00 - 16.00 น.

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ผลการประเมิน

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ น้อย

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ ปานกลาง

การประเมินคุณ ค่า

  • เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

□ ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

  • รายละเอียด .....มีการให้ความรู้แก้ผู้เข้าร่วมอบรม เกียวกับสุขภิบาลอาหารปลอดภัยในพื้นที่
  • หลักฐาน.....จากการทำโครงการ พบว่าในการสำรวจการประกอบอาหารและตรวสอบแบคทีเรียพบว่า มีการดูแลสุขาภิบาลมากขึ้น
  • แนวทางพัฒนาต่อ.....ควรมีการดูแลเรื่องสุขาภิบายอาหารปลอดภัยทุกปี เนื่องจากให้ผู้ประกอบการมีควรตระหนักในการทำอาหารปลอดภัยให้แก่ผู้บริโภค
  1. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

□ การบริโภค

  • รายละเอียด......มีการแนะนำการประกอบอาหารให้ถูกสุขลักษณะ
  • หลักฐาน.....จากการทำกิจกรรมในพื้นที่และการทดสอบคอลิฟอร์แบคทีเรีย ในภาชะต่างๆ ตามร้านอาหารในพื้นที่ ควรมีการสร้างกลุ่มไลน์ชมรมร้านอาหารแผงลอยในพื้นที่ต่อไป
  • แนวทางพัฒนาต่อ....ควรมีการทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่องทุกปี

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการกองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพตำบลกองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองกวาง โดยนายอะหมัด หลีขาหรี 31 ก.ค. 2564 31 ก.ค. 2564

 

การประเมินผลโครงการและถอดบทเรียนโครงการ กองทุนเสุขภาพตำบลคลองกวาง ตามประเด็น ดังนี้
ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ
ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ
ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง
ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ
ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ผลการประเมินผลโครงการและถอดบทเรียนโครงการ กองทุนเสุขภาพตำบลคลองกวาง
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ปีงบประมาณ 2563
หน่วยงาน/องค์กรขอรับทุนฯ สำนักปลัด อบต.คลองกวาง

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ
มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ
มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง
มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ
มาก

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ
ไม่มี

การประเมินคุณค่า

  • เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

□ ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง และชุมชนสามารถจัดการตนเองในการป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 (COVID - 19)

□ การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น ในการใช้ชีวิตประจำวัน
ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการลดพฤติกรรมเสี่ยงเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 (COVID - 19)

□ วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ เกิดกลไกและการจัดการร่วมของ อปท. ฝ่ายปกครอง และผู้นำชุมชนในการป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 (COVID - 19)

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ โดย นางดวงใจ ่อ่อนแก้วและทีม 2 ส.ค. 2564 2 ส.ค. 2564

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนฯเทศบาลตำบลคูหาใต้ วันที่ 16 กค.64 ผ่านระบบ Zoom เวลา 13.00 - 16.00 น.

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ผลการประเมิน

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ มาก

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ ไม่มี

การประเมินคุณ ค่า

  • เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

□ ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
รายละเอียดผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพได้ตามหลัก 3 อ.. มีความรู้และเข้าใจในการดูแลตัวเองมากขึ้น/หลักฐาน.กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพที่ดีขึ้นลดผู้ป่วย NCD ในพื้นที่น้อยลง/แนวทางพัฒนาต่อควรมีการส่งเสริมให้ทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเพื่อสุขภาพคนในพื้นที่.


2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

□ การบริโภค
รายละเอียด ผู้เข้าร่วมโครงการที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนเสี่ยงพฤติกรรม ตามหลัก 3อ 2ส/หลักฐาน. /กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ดีขึ้นและมีการออกกำลังกายมากขึ้น แนวทางพัฒนาต่อ ควรมีการให้ความรู้เรื่อง 3 อ 2ส.อย่างต่อเนื่อง

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก โดยนายธนกฤต นุ้ยกูลวงศ์ และทีม 2 ส.ค. 2564 13 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

• มี

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่งครบองค์ประกอบ

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร • มี
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • มี
3.3. เงินสมทบจาก อปท. • มี
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • มี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

ประเภท 10(2)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )


ประเภท 10(3)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

ประเภท 10(5)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน ) 8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ • ไม่มี

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน • ถูกต้อง

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

• มี ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ แต่ยังไม่ได้ดำเนินการ

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดสน โดยนายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล 2 ส.ค. 2564 27 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC 2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) 3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
  3.1 จำนวนประชากร   3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช.   3.3. เงินสมทบจาก อปท.   3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี 4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม 5. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี 6. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) 7. การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
  ประเภท 10(1,2,3,5) 8. กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ 9. จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน 10. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 1. คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC 2. การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ 3. กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC 4. การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC • มี
2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่ง แต่ไม่ถูกต้อง 3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 • บันทึกข้อมูลครบถ้วน 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • บันทึกข้อมูลครบถ้วน
3.3. กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบจาก อปท. • บันทึกข้อมูลครบถ้วน
3.4 กองทุนมีการบันทึกจำนวนดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • บันทึกข้อมูลครบถ้วน
4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์ 5. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • ไม่มีการจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี 6. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ไม่ถูกต้อง/ไม่สมบูรณ์ 7. การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
7.1 ประเภท 10(1) (ไม่มีโครงการในปี 2563 และ 2564) 7.2 ประเภท 10(1) (ไม่มีโครงการในปี 2563 และ 2564) 7.3 ประเภท 10(2) โครงการเยาวชนวัยใส ใส่ใจชุมชน • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน(เอกสารรับเงินครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงานผลให้กองทุน) 7.4 ประเภท 10(2) มีการดำเนินโครงการเดียว 7.5 ประเภท 10(3) โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน(เอกสารรับเงินครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงานผลให้กองทุน) 7.6 ประเภท 10(3) โครงการส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพชีวิตผู้สูงอายุ • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน(เอกสารรับเงินครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงานผลให้กองทุน) 7.7 ประเภท 10(5) โครงการเผชิญการระบาดของโรคโคโรนาไวรัส • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีการรายงานผล) 7.8 ประเภท 10(5) มีการดำเนินโครงการเดียว 8. การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ • มี ถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1 ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) • ไม่มีการอนุมัติโครงการ 9. การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน • ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ • ถูกต้อง 10. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย • มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30%

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 • ยังไม่มีการดำเนินการ LCT

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ โดยนายธนพนธ์ จรสุวรรณ และทีม 4 ส.ค. 2564 5 ส.ค. 2564

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลองค์การบริหารส่วนตำบลสะพานไม้แก่น วันที่ 5 กค.64 เวลา 09.30 - 12.00 น.

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ผลการประเมินโครงการประเมินโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-๑๙) หน่วยงาน/องค์กรขอรับทุนฯ.......ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลสะพานไม้แก่น

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ มาก

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ ไม่มี

การประเมินคุณ ค่า

  • เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

□ ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
รายละเอียดผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันตนเองและครอบครัวในการป้องกันโรค 2. เกิดการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง 3. เกิดวิถีชีวิตใหม่ (New Normol)   ล้างมือบ่อยๆ โดยใช้สบู่และน้ำ หรือเจลล้างมือที่มีส่วนผสมหลักเป็นแอลกอฮอล์   รักษาระยะห่างที่ปลอดภัยจากผู้ที่ไอหรือจาม   สวมหน้ากากอนามัยเมื่อเว้นระยะห่างไม่ได้   ไม่สัมผัสตา จมูก หรือปาก   ปิดจมูกและปากด้วยข้อพับด้านในข้อศอกหรือกระดาษชำระเมื่อไอหรือจาม   เก็บตัวอยู่บ้านเมื่อรู้สึกไม่สบาย   หากมีไข้ ไอ และหายใจลำบากไปพบแพทย์ 4. Community Isolation Home Isolation Local Quarantine Home Qarantine และ Self Quarantine

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ฉาง อำเภอนาทวี โดยนายธนพนธ์ จรสุวรรณและทีม 4 ส.ค. 2564 4 ส.ค. 2564

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลองค์การบริหารส่วนตำบลฉาง วันที่ 4 กค.64 เวลา 13.00 - 16.00 น.

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ผลการประเมินโครงการประเมินโครงการส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชวิติของเกษตรกรปลูกผักและผลไม้ ปี 2564 หน่วยงาน/องค์กรขอรับทุนฯ.......ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลฉาง

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ ปานกลาง

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ ไม่มี

การประเมินคุณ ค่า

  • เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

□ ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
รายละเอียดผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ความปลอดภัยในการประกอบอาชีพ เช่นท่าทางในการทำงาน ยกของ การป้องกันสารเคมี เชื้อโรค สัตว์มีพิษ อุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพ การเตรียมความพร้อมของร่างกาย การพักผ่อน และการรับประทานอาหาร เป็นต้น

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน อำเภอจะนะ โดยนายธนพนธ์ จรสุวรรณและทีม 5 ส.ค. 2564 4 ส.ค. 2564

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลองค์การบริหารส่วนตำบลตลิ่งชัน วันที่ 5 กค.64 เวลา 09.30 - 12.00 น.

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ผลการประเมินโครงการประเมินโครงการอาหารเช้า อิ่มท้อง สมองดี ปี 2564 หน่วยงาน/องค์กรขอรับทุนฯ.......โรงเรียนบ้านตลิ่งชัน

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ ปานกลาง

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ ไม่มี

การประเมินคุณ ค่า

  • เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

□ ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
รายละเอียดผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการเลี้ยงดูบุตรหลาน เด็กวัยเรียน ความสำคัญของอาหารและโภชนาการ โดยเฉพาะอาหารมื้อเช้า การเลือกการบริโภคอาหารท่สะอาด ปลอดภัยและได้คุณค่า การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม มนโยบายสาธารณะ หรือการมส่วนร่วมของชุมชน

 

ประเมินผลโครงการ/ถอดบทเรียนโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คู อำเภอจะนะ โดยนายธนพนธ์ จรสุวรรณและทีม 5 ส.ค. 2564 4 ส.ค. 2564

 

ประเมินโครงการกองทุนพี่เลี้ยง"กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลองค์การบริหารส่วนตำบลคู วันที่ 5 กค.64 เวลา 13.00 - 16.00 น.

โดยมีประเด็นในการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

 

ผลการประเมินโครงการประเมินโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค หน่วยงาน/องค์กรขอรับทุนฯ.......อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 1

ส่วนที่ 1 ประเมินรายละเอียดโครงการในระบบกองทุนฯ มาก

ส่วนที่ 2 ประเมินผู้ขอรับทุนและกระบวนการในการทำโครงการ มาก

ส่วนที่ 3 ประเมินเอกสารสรุปโครงการในระบบ และตัวจริง มาก

ส่วนที่ 4 การประเมินคุณค่าโครงการ น้อย

ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ ไม่มี

การประเมินคุณ ค่า

  • เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

□ ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ รายละเอียดผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพได้ตามหลัก 3 อ.. มีความรู้และเข้าใจในการดูแลตัวเองมากขึ้น/หลักฐาน.กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพที่ดีขึ้นลดผู้ป่วย NCD ในพื้นที่น้อยลง/แนวทางพัฒนาต่อควรมีการส่งเสริมให้ทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเพื่อสุขภาพคนในพื้นที่.


2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

□ การบริโภค
รายละเอียด ผู้เข้าร่วมโครงการที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนเสี่ยงพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ 2ส/หลักฐาน. /กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ดีขึ้นและมีการออกกำลังกายมากขึ้น แนวทางพัฒนาต่อ ควรมีการให้ความรู้เรื่อง 3 อ 2ส.อย่างต่อเนื่อง

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหลา โดยนายสมโภช ยอดดี นางดวงใจ อ่อนแก้ว และน.ส.ดวงดาว อุปสิทธิ์ 5 ส.ค. 2564 26 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

จากการประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการ LTC กองทุนสุขภาพตำบล พบว่า 1 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
• มี

2 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
• มีครบองค์ฯ 3 การบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร • มี
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • มี
3.3. เงินสมทบจาก อปท. • มี
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • มี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร
• มี

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่
• บันทึกข้อมูลสมบูรณ์ แต่มีแผนจำนวนน้อย

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี
• มี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)
• มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1) โครงการส่งเสริมฟูนฟูผู้สูงอายุฯ และโครงการอนามัยแม่และเด็นส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ฯ
• ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ไม่มีรายงาน )

ประเภท 10(2) บ้านโหนดร่วมแรงสร้างแกนนำรำโนราบิกฯ และ โครงการออกกำลังกายลดเสี่ยงลดโรค • ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีรายงาน)

ประเภท 10(3) อบรมฟื้นฟูผู้ดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงฯ
• ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ไม่มีการรายงาน )

ประเภท 10(3) อปลูกผักปลอดสารพิษลูกหลานปลอดภัย • ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

ประเภท 10(5) โครงการป้องกันและการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโณนา 2019
• ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น)


8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่
• มี แต่ไม่ได้อนุมัติ ฉ 3

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน
• จำนวนเงินถูกต้อง มีรายงานไตรมาส

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน
• มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย ใช้คงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% มีติดตามโครงการ

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC
• มี ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ มีการโอนเงินให้ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตฯ

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ
• มีการประชุม

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC
• ศูนย์พัฒนฯ

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)
• มีรายงานผลการจัดบริการ

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนาโดย นายธนพนธ์ จรสุวรรณ 6 ส.ค. 2564 6 ส.ค. 2564

 

ลงประเมินติดตามการทำงานกองทุนตำบลและกองทุนLCT เทศบาลตำบลบ้านนา ณ เทศบาลตำบลบ้านนา

 

ดำเนินการนิเทศงานติดตามการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล จากการลงเยี่ยมติดตามตามตัวชี้วัด พบว่า
- มีคำสั่ง อปท.แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและไม่มีกองทุนLTC.
- คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 คำสั่งเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลง มีการเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงคำสั่งถูกต้องตามประกาศ
- การป้อนจำนวนประชากร เพื่อรับการจัดสรรเงินและสมทบเงินเข้ากองทุน มีการแจ้งประชากรอย่างถูกต้อง มีการสมทบเงินตามกำหนดเวลา - มีการจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบล คลอบคลุมเกือบทุกแผน มีการกำหนดสถานการณ์ตามปัญหาในพื้นที่มาเป็นตัวกำหนด และนำโครงการมาแก้ปัญหาตามพื้นที่
- การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่าย ประจำปี มีการจัดทำ และนำเสนอคณะกรรมการกองทุนอนุมัติแผนก่อนการเบิกจ่ายเงิน - โครงการบริหารจัดการกองทุน มีโครงการตั้งงบประมาณ แต่ยังขาดกิจกรรมบางกิจกรรม - โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพ ตาม 10(1) - 10(5) มีการดำเนินโครงการในปี 2563 คลอบคลุมทุกประเภท ได้แนะนำให้นำปัญหาที่แท้จริงมาจัดทำโครงการเพื่อสามารถที่จะแก้ปัญหาได้ตรงตามจุด - โครงการแก้ปัญหาโควิด -19 ได้ดำเนินการ มีเอกสารการรายงานผลมีการออกใบเสร็จรับเงินอย่างถูกต้อง
- บัญชี-การเงินกองทุน ดูจากระบบได้แนะนำให้นำเสนอให้กับคณะกรรมการในการประชุมทุกครั้ง สามารถเบิกจ่ายเงินคงเหลือ - มีการายงานผลการจ่ายเงินให้หน่วยงานรับทุนทุกประเภท เเละจำนวนเงินคงเหลือเเต่ละปี ไม่เกิน 30%
- มีการออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการทุน แต่งตั้งครบตามองค์ประกอบ มีการเเก้ไขครบถ้วน แนะนำให้เก็บหลักฐานที่มาของกรรมการกองทุนที่มาจากการคัดเลือก เช่นบันทึกการประชุม เป็นต้น 12. ไม่มีกองทุน LCT แนะนำให้สมัครเข้ากองทุน LTC.

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด โดยนางปิยนุช บูยูโส๊ะ 6 ส.ค. 2564 24 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

• มี

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่งครบองค์ประกอบ

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร • มี
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • มี
3.3. เงินสมทบจาก อปท. • มี
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • มี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1) ลดละเลิกบุหรี่ในชุมชน

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1) ตรวจเฝ้าระวังสารเคมีจำกัดศตรูพืชตกค้างในเกษตรกร

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

ประเภท 10(2) ส่งเสริมสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

ประเภท 10(2) เยาวชนรักษ์สุขภาพต้านยาเสพติด

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )


ประเภท 10(5) โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัย และป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 ในร้านอาหารฯ

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน) 8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ • มี แต่ไม่มี ฉ 3

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน • ถูกต้อง

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564


• ไม่มี LTC

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชิงโคโดยนางสาวจุฑา สังขชาติ 6 ส.ค. 2564 18 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

จากการประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการ LTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชิงโค พบว่า 1 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
• มี

2 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
• มีคำสั่งครบองค์ประกอบ

3 การบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร • มี
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • มี
3.3. เงินสมทบจาก อปท. • มี
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • มี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร
• มีแต่ไม่สมบูรณ์

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่
• บันทึกข้อมูลสมบูรณ์ แต่มีแผนจำนวนน้อย

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี
• มี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)
• มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1)
• ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีรายงาน)

ประเภท 10(2)
• ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีรายงาน)

ประเภท 10(3)
• ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

ประเภท 10(5)
ไม่มี

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่
• ไม่มี ไม่มี ฉ 3

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน
• ถูกต้อง

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน
• มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC
• มี ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ
• ยังไม่ได้ประชุม

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC
• ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)
• ไม่มีรายงานผลการจัดบริการ เนื่องจากยังไม่เสร็จสิ้นการดำเนินการ


ข้อเสนอแนะงานกองทุนและ LTC

1) มีเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ ต้องการเจ้าหน้าที่เพิ่ม

2) ต้องการให้ สปสช พัฒนาศักยภาพเข้าหน้าที่ทั้งเรื่องระเบียบกองทุนฯ และระบบโครงการ

3) ต้องการให้พี่ชัยยุทธ แนะนำเรื่อง LTC เพิ่มเติม

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขุนตัดหวายโดย นายธนพนธ์ จรสุวรรณ 9 ส.ค. 2564 9 ส.ค. 2564

 

ลงประเมินติดตามการทำงานกองทุนตำบลและกองทุนLCT อบต.ขุนตัดหวาย ณ องค์การบริหารส่วนตำบลขุนตัดหวาย

 

ดำเนินการนิเทศงานติดตามการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล จากการลงเยี่ยมติดตามตามตัวชี้วัด พบว่า
- มีคำสั่ง อปท.แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ - คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 คำสั่งเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลง มีการเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงคำสั่งถูกต้อง - บันทึกจำนวนประชากร เพื่อรับการจัดสรรเงินและสมทบเงินเข้ากองทุน มีการแจ้งประชากรอย่างถูกต้อง มีการสมทบเงินภายในกำหนดเวลา - มีการจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบล ไม่ครอบคลุมทุกเเผน มีการกำหนดสถานการณ์ตามปัญหาในพื้นที่มาเป็นตัวกำหนด และนำโครงการมาแก้ปัญหาตามพื้นที่
- การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่าย ประจำปี มีการจัดทำ และนำเสนอคณะกรรมการกองทุนอนุมัติแผนก่อนการเบิกจ่ายเงิน
- โครงการบริหารจัดการกองทุน มีโครงการตั้งูกต้อง แต่ไม่ครอบคลุมกิจกรรม
- โครงการการแก้ปัญหาด้านสุขภาพ 10(1) - 10(5) มีการดำเนินโครงการในปี 2563 คลอบคลุมทุกประเภท
- โครงการแก้ปัญหาโควิด -19 ได้ดำเนินการ มีเอกสารการรายงานผลมีการออกใบเสร็จรับเงินอย่างถูกต้อง
- บัญชี-การเงินกองทุน ดูจากระบบได้แนะนำให้นำเสนอให้กับคณะกรรมการในการประชุมทุกครั้ง สามารถเบิกจ่ายเงินคงเหลือ - มีการายงานผลการจ่ายเงินให้หน่วยงานรับทุนทุกประเภท เเละจำนวนเงินคงเหลือเเต่ละปี - ไม่มีกองทุน LCT แนะนำให้สมัครเข้ากองทุน

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองรี โดยนางเพียงขวัญ กาญจนเพ็ญ 9 ส.ค. 2564 24 ส.ค. 2564

 

ลงประเมินติดตามการทำงานกองทุนสุขภาพตำบลและกองทุน LTC ตำบลคลองรี

 

การดำเนินการนิเทศติดตามการดำเนินงานของกองทุนฯ จากการลงเยี่ยมในพื้นที่ พบว่า การประเมินมีดังนี้ ข้อที่ 1 อบต.มีการออกคำสั่งแต่งตั้ง จนท.รับผิดชอบงานกองทุนฯ มีเฉพราะคำสั่งกองทุน ข้อที่ 2 อบต.มีการออกคำสังแต่งตั้งคณะกรรมการ
ข้อที่ 3 กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลสมบูรณ์ ข้อที่ 4 กองทุนฯ มีการจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็น มีการบันทึกข้อมูลบางส่วน ไม่สมบูรณ์ ข้อที่ 5 กองทุนฯ มีการจัดทำแผนรับ จ่ายประจำปี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ ข้อที่ 6 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนฯ ถูกต้องสมบูรณ์ ข้อที่ 7.1-7.2 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (1) โดยมีทีมาของปัญหา วัตถุประสงค์ เอกสารการเบิกจ่าย ข้อที่ 7.3- 7.4 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (2) โดยมีทีมาของปัญหา วัตถุประสงค์ เอกสารการเบิกจ่าย ข้อที่ 7.5 - 7.6 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (3)
ข้อที่ 7.7- 7.8 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (5) ข้อที่ 8 กองทุนฯ มีการแก้ไขปัญหาโควิดในพื้นที่ ข้อที่ 9.1 กองทุนฯ มีการจัดทำบัญชี การเงิน ถูกต้อง ข้อที่ 10 กองทุนฯ มีการบริหารการเบิกจ่ายมีประสิทธิที่ภาพที่อยู่ในเกณฑ์พอใช้ การดำเนินงานกองทุนฯ LTC พบว่า มีการออกคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการถูกต้อง มีการจัดการประชุมคณะอนุกรรมการ มีการรายงานผลการจัดบริการ

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง โดยนางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์ และดวงใจอ่อนแก้ว 9 ส.ค. 2564 20 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

• มี

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่งครบองค์ประกอบ

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร • มี
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • มี
3.3. เงินสมทบจาก อปท. • มี
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • มี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น)

ประเภท 10(2)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น)


ประเภท 10(3)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น)

ประเภท 10(5)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น) 8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ • ไม่มี

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน • ถูกต้อง

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

• มี ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

• มีครบถ้วนสมบูรณ์

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC • ศูนย์ฟื้นฟูคุณภาพชีวิตและคนพิการฯ

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ) • มีรายงานผลการจัดบริการ เนื่องจากยังไม่เสร็จสิ้นการดำเนินการ

ปัญหาอุปสรรค์กองทุนฯ - มีการทำระบบ LTC เจ้าหน้าที่ CM ไม่มีเวลา เขียน careplan ต้องให้เจ้าหน้าที่ อบต.ช่วยเรื่องระบบ LTC

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลสทิงพระโดยนางเพียงขวัญ กาญจนเพ็ญ 10 ส.ค. 2564 24 ส.ค. 2564

 

ลงประเมินติดตามการทำงานกองทุนสุขภาพตำบลและกองทุน LTC เทศบาลสทิพระ

 

การดำเนินการนิเทศติดตามการดำเนินงานของกองทุนฯ จากการลงเยี่ยมในพื้นที่ พบว่า การประเมินมีดังนี้ ข้อที่ 1 อบต.มีการออกคำสั่งแต่งตั้ง จนท.รับผิดชอบงานกองทุนฯ มีเฉพราะคำสั่งกองทุน ข้อที่ 2 อบต.มีการออกคำสังแต่งตั้งคณะกรรมการ
ข้อที่ 3 กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลสมบูรณ์ ข้อที่ 4 กองทุนฯ มีการจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็น มีการบันทึกข้อมูลบางส่วน ไม่สมบูรณ์ ข้อที่ 5 กองทุนฯ มีการจัดทำแผนรับ จ่ายประจำปี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ ข้อที่ 6 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนฯ ถูกต้องสมบูรณ์ ข้อที่ 7.1-7.2 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (1) โดยมีทีมาของปัญหา วัตถุประสงค์ เอกสารการเบิกจ่าย ข้อที่ 7.3- 7.4 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (2) โดยมีทีมาของปัญหา วัตถุประสงค์ เอกสารการเบิกจ่าย ข้อที่ 7.5 - 7.6 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (3)
ข้อที่ 7.7- 7.8 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (5) ข้อที่ 8 กองทุนฯ มีการแก้ไขปัญหาโควิดในพื้นที่ ข้อที่ 9.1 กองทุนฯ มีการจัดทำบัญชี การเงิน ถูกต้อง ข้อที่ 10 กองทุนฯ มีการบริหารการเบิกจ่ายมีประสิทธิที่ภาพที่อยู่ในเกณฑ์พอใช้ การดำเนินงานกองทุนฯ LTC พบว่า มีการออกคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการถูกต้อง มีการจัดการประชุมคณะอนุกรรมการ มีการรายงานผลการจัดบริการ

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ โดยนายสุทธิพงศ์ อุสาหะพงษ์สิน 10 ส.ค. 2564 26 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

• มี

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่งครบองค์ประกอบ

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร • มี
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • มี
3.3. เงินสมทบจาก อปท. • มี
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • มี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1) โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรก แห่งชีวิต

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ไม่มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น)

ประเภท 10(1) ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน)

ประเภท 10(2) โครงการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ไม่มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น)


ประเภท 10(3) ส่งเสริมวินัยจราจร และรณรงค์หมวกกันน๊อค

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น)

ประเภท 10(5) พ่นหมอกควัน กำจัดยุคโณคไข้เลือดออกฯ

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ • มี

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน • ไม่ถูกต้อง ยังไม่อัปสมุด

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

• มี ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

• มีครบถ้วนสมบูรณ์

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC • ศูนย์ฟื้นฟูคุณภาพชีวิตและคนพิการฯ

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ มีการรายงานผลการจัดบริการ

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านใหม่โดยนายพิเชษฐ สุขทร 12 ส.ค. 2564 27 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC 2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) 3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี 4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม 5. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี 6. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) 7. การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5) 8. กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ 9. จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน 10. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 1. คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC 2. การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ 3. กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC 4. การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC • มี
2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่งครบองค์ประกอบ 3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 • บันทึกข้อมูลครบถ้วน 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • บันทึกข้อมูลครบถ้วน
3.3. กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบจาก อปท. • บันทึกข้อมูลครบถ้วน
3.4 กองทุนมีการบันทึกจำนวนดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • บันทึกข้อมูลครบถ้วน
4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์ 5. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • ไม่มีการจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี 6. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ถูกต้องสมบูรณ์ 7. การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
7.1 ประเภท 10(1) โครงการร้านชำ/แผงลอยคุณภาพผู้บริโภคปลอดภัยใส่ใจชุมชน • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงานผลการดำเนินงานกับกองทุน) 7.2 ประเภท 10(1) โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงานผลการดำเนินงานกับกองทุน) 7.3 ประเภท 10(2) โครงการเฝ้าระวังป้องกันโควิด-19ในสถานศึกษา • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน(เอกสารรับเงินครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น/ขอขยายจากโรคโควิด19) 7.4 ประเภท 10(2) มีการดำเนินโครงการเดียว 7.5 ประเภท 10(3) (ไม่มีโครงการในปี 2563 และ 2564) 7.6 ประเภท 10(3) (ไม่มีโครงการในปี 2563 และ 2564) 7.7 ประเภท 10(5) โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีการรายงานผล) 7.8 ประเภท 10(5) มีการดำเนินโครงการเดียว 8. การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ • มี ถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1 ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) • ดำเนินการถูกต้อง 9. การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน • ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ • ถูกต้อง 10. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนไม่หลากหลาย • มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% • มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 1. คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LCT • มี ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ
2. การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LCT • ไม่มีการประชุม 3. การโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LCT • ยังไม่มีการดำเนินการ
4. การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ • ยังไม่มีการดำเนินการ

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง โดย นายอะหมัด หลีขาหรี 12 ส.ค. 2564 10 ส.ค. 2564

 

ประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการ LTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง ในประเด็น ดังนี้

1 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 การบันทึกข้อมูลในโปรแกรมครบถ้วน
3.1 จำนวนประชากร
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช.
3.3. เงินสมทบจาก อปท.
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10 (1,2,3,5)

8 การดำเนินการโครงการแก้ปัญหาโควิด-19

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC

เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) โดยกองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ

 

จากการประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการ LTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง พบว่า 1 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
• มี

2 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
• มีคำสั่งครบองค์ประกอบ

3 การบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร • มี
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • มี
3.3. เงินสมทบจาก อปท. • มี
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • มี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร
• บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่
• ไม่มีการบันทึกแผนสุขภาพในระบบ

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี
• มี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)
• มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1)
• ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ไม่มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น)

ประเภท 10(2)
• ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ไม่มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น)

ประเภท 10(3)
• ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ไม่มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น)

ประเภท 10(5) ไม่มีโครงการประเภท 5

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่
• มี

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน
• ไม่ถูกต้อง

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน
• มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 - ยังไม่ดำเนินการจัดตั้งกองทุน LTC

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลระโนด โดยนายคฑาวุธ คงเย็น 12 ส.ค. 2564 19 ส.ค. 2564

 

ลงประเมินติดตามการทำงานกองทุนสุขภาพตำลและกองทุน LTC ทต.ระโนด

 

การดำเนินการนิเทศติดตามการดำเนินงานของกองทุนฯ จากการลงเยี่ยมติดตามผ่านระบบออนไลน์ วีดีโอคอล พบว่า การประเมินมีดังนี้ ข้อที่ 1 อบต.ไม่มีการออกคำสั่งแต่งตั้ง จนท.รับผิดชอบงานกองทุนฯ มีเฉพราะคำสั่งกองทุน ข้อที่ 2 อบต.ไม่มีการออกคำสังแต่งตั้งคณะกรรมการ ปี 61 แต่เป็นปี 62 ข้อที่ 3 กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลสมบูรณ์ ข้อที่ 4 กองทุนฯ มีการจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็น มีการบันทึกข้อมูลบางส่วน ไมสมบูรณ์ ข้อที่ 5 กองทุนฯ ไม่มีการจัดทำแผนรับ จ่ายประจำปี
ข้อที่ 6 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนฯ ข้อที่ 7.1-7.2 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (1) โดยมีทีมาของปัญหา วัตถุประสงค์ เอกสารการเบิกจ่าย ข้อที่ 7.3- 7.4 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (2) โดยมีทีมาของปัญหา วัตถุประสงค์ เอกสารการเบิกจ่าย ข้อที่ 7.5 - 7.6 กองทุนฯ ไม่มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (3)
ข้อที่ 7.7- 7.8 กองทุนฯ ไม่มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (5) ข้อที่ 8 กองทุนฯ มีการแก้ไขปัญหาโควิดในพื้นที่ ข้อที่ 9.1 กองทุนฯ มีการจัดทำบัญชี การเงิน แต่ไม่ถูกต้อง ข้อที่ 10 กองทุนฯ มีการบริหารการเบิกจ่ายมีประสิทธิที่ภาพที่อยู่ในเกณฑ์ดีมาก การดำเนินงานกองทุนฯ LTC พบว่า มีการออกคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการถูกต้อง มีการจัดการประชุมคณะอนุกรรมการ มีการโอนเงินให้หน่วยจัดริการ และมีการติดตาม

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ทอม โดยนางสาวจุฑา สังขชาติ 12 ส.ค. 2564 17 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

จากการประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการ LTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ทอมพบว่า 1 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
• มี

2 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
• มีคำสั่งครบองค์ประกอบ

3 การบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร • มี
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • มี
3.3. เงินสมทบจาก อปท. • มี
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • มี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร
• มีแต่ไม่สมบูรณ์

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่
• บันทึกข้อมูลสมบูรณ์ แต่มีแผนจำนวนน้อย

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี
• มี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)
• มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1)
• ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีรายงาน)

ประเภท 10(2)
• ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีรายงาน)

ประเภท 10(3)
• ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

ประเภท 10(5)
• ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )


8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่
• มี ไม่มีโครงการ ใช้ ฉ 3 เข้ากรรมการ

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน
• ถูกต้อง

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน
• มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC
• มี ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ
• ยังไม่ได้ประชุม

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC
• รพสต

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)
• ไม่มีรายงานผลการจัดบริการ เนื่องจากยังไม่เสร็จสิ้นการดำเนินการ

ปัญหาอุปสรรค์กองทุนฯ

1) เจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ

2)มีเนื่องจากสถานการณ์โควิด-1 คนของบกองทุนฯน้อยลง

3) เจ้าหน้าที่กองทนฯไม่ได้จบด้านสาธารณสุขต้องเรียนรู้ด้านสุขภาพเป็นอย่างมาก

ข้อเสนอแนะ

  • สปสช อยากให้ สปสช. ส่งเจ้าหน้าที่ทำงานกองทุนฯ มาให้แต่ละท้องถิ่นโดยตรงเพื่อให้มีคนทำงานที่ชำนาญเรื่องกองทุนฯและกองทุนLTC

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTCเทศบาลเมืองสะเดาโดยนายธนกฤต นุ้ยกูลวงศ์ และทีม 13 ส.ค. 2564 18 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

• มี

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่งครบองค์ประกอบ

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร • มี
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • มี
3.3. เงินสมทบจาก อปท. • มี
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • มี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

ประเภท 10(2)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )


ประเภท 10(3)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

ประเภท 10(5)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น) 8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ • ไม่มี

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน • ถูกต้อง

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

• มี ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

• มีครบถ้วนสมบูรณ์

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC • ศูนย์ฟื้นฟูคุณภาพชีวิตและคนพิการฯ

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ) • มีรายงานผลการจัดบริการ เนื่องจากยังไม่เสร็จสิ้นการดำเนินการ

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองควนลัง โดยนายสมโภช ยอดดี นางดวงใจ อ่อนแก้ว และนางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์ 13 ส.ค. 2564 24 ส.ค. 2564

 

ประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการ LTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง ในประเด็น ดังนี้

1 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 การบันทึกข้อมูลในโปรแกรมครบถ้วน
3.1 จำนวนประชากร
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช.
3.3. เงินสมทบจาก อปท.
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10 (1,2,3,5)

8 การดำเนินการโครงการแก้ปัญหาโควิด-19

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC

เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) โดยกองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ

 

จากการประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการ LTC กองทุนสุขภาพตำบล พบว่า 1 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
• มี

2 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
• มีคำสั่งครบองค์ประกอบ

3 การบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร • มี
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • มี
3.3. เงินสมทบจาก อปท. • มี
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • มี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร
• บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่
• มีการบันทึกแผนสุขภาพในระบบ

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี
• มี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)
• มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1) ส่งเสริมสุขภาพหญิงหลักคลอดและทารกแรกเกิดฯ และโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์
• ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน)

ประเภท 10(2) โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ • ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

ประเภท 10(5) โครงการเฝ้าระวังและการป้องกันควบคุมโณคติดเชื้อไวรัสโ๕โรนา ฯ • ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่
• มี /มี ฉ 3

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน
• ถูกต้อง

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน
• มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 - มีกรรมการครบองค์ประกอบ ไม่มีการจัดประชุม โอนให้ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตฯ มีรายงงานของปี 63

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเนียง โดยนางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์ 15 ส.ค. 2564 24 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

• มี

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่งครบองค์ประกอบ

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร • มี
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • มี
3.3. เงินสมทบจาก อปท. • มี
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • มี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ • บันทึกข้อมูลบางส่วน

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1)
1 โครงการกำจัดเหาสำหรับนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลควนเนียงและโรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลควนเนียง 2 โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

ประเภท 10(2)
1 โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ "ขยับกาย สบายชีวี ด้วยวิธีการเต้นแอโรบิค 2 โครงการรณรงค์และป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน)


ประเภท 10(5)
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีมีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น) 8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ • ไม่มี

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน • ถูกต้อง

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

• มี ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ โอนเงินให้ศูนยฯ มีรายงาน

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปากแตระ โดยนายพิเชษฐ สุขทร 16 ส.ค. 2564 24 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC 2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) 3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
  3.1 จำนวนประชากร   3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช.   3.3. เงินสมทบจาก อปท.   3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี 4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม 5. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี 6. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) 7. การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
  ประเภท 10(1,2,3,5) 8. กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ 9. จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน 10. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 1. คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC 2. การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ 3. กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC 4. การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC • มี
2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่งครบองค์ประกอบ 3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 • บันทึกข้อมูลครบถ้วน 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • บันทึกข้อมูลครบถ้วน
3.3. กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบจาก อปท. • บันทึกข้อมูลครบถ้วน
3.4 กองทุนมีการบันทึกจำนวนดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • บันทึกข้อมูลครบถ้วน
4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร • บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์ 5. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • ไม่มีการจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี 6. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ถูกต้องสมบูรณ์ 7. การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
7.1 ประเภท 10(1) โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี • ที่มาของปัญหา (ไม่มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงานผลการดำเนินงานกับกองทุน) 7.2 ประเภท 10(1) โครงการฝากครรภ์เร็วไว ดูแลหลังคลอดปลอดภัย • ที่มาของปัญหา (ไม่มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงานผลการดำเนินงานกับกองทุน) 7.3 ประเภท 10(2) โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน(เอกสารรับเงินครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น/ขอขยายจากโรคโควิด19) 7.4 ประเภท 10(2) โครงการรณรงค์ตรวจสุขภาพเพื่อคัดกรองโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น/ขอขยายจากโรคโควิด19) 7.5 ประเภท 10(3) (ไม่มีโครงการในปี 2563 และ 2564) 7.6 ประเภท 10(3) (ไม่มีโครงการในปี 2563 และ 2564) 7.7 ประเภท 10(5) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคโควิด19 • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีการรายงานผล) 7.8 ประเภท 10(5) มีการดำเนินโครงการเดียว 8. การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ • มี ถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1 ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) • ไม่มีการอนุมัติโครงการ 9. การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน • ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ • ถูกต้อง 10. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย ข้อเสนอแนะ 1.การใช้งานโปรแกรมระบบค่อนข้างยาก 2.ไม่มีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้รับผิดชอบงานเฉพาะ 3.พี่เลี้ยงกองทุนให้คำปรึกษาได้น้อย

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 • ยังไม่ได้มีการสมัครเข้าดำเนินการกองทุน LTC

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าประดู่ โดย นายอะหมัด หลีขาหรี 16 ส.ค. 2564 19 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

จากการประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการ LTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าประดู่ พบว่า 1 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
• มี

2 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
• มีคำสั่งบางส่วนไม่ครบองค์ประกอบ

3 การบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร
• บันทึกข้อมูลครบถ้วน
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช.
• บันทึกข้อมูลครบถ้วน
3.3. เงินสมทบจาก อปท.
• บันทึกข้อมูลครบถ้วน
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี
• บันทึกข้อมูลครบถ้วน

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร
• บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่
• บันทึกข้อมูลสมบูรณ์ แต่มีแผนจำนวนน้อย

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี
• มี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)
• มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
* มีการจัดทำโครงการในปี 2564 เพียง 2 โครงการ คือโครงการบริหารจัดการกองทุน และโครงการแก้ไขปัญหาโควิด

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่
• มี

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน
• ไม่ตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน
• มีการเบิกจ่ายในปี 2564 เพียง 2 โครงการ

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564
- ยังไม่ดำเนินการจัดตั้งกองทุน LTC

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง โดยนางดวงใจ อ่อนแก้ว และน.ส.ดวงดาว อุปสิทธิ์ 16 ส.ค. 2564 10 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

• มี

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่งครบองค์ประกอบ

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร • มี
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • มี
3.3. เงินสมทบจาก อปท. • มี
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • มี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

ประเภท 10(2)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน)


ประเภท 10(3)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

ประเภท 10(5)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน ) 8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ • ไม่มี

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน • ถูกต้อง

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

• มี ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

• มีครบถ้วนสมบูรณ์

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC • ศูนย์ฟื้นฟูคุณภาพชีวิตและคนพิการฯ

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ) • มีรายงานผลการจัดบริการ เนื่องจากยังไม่เสร็จสิ้นการดำเนินการ

ปัญหาอุปสรรค์กองทุนฯ - มีการทำระบบ LTC ส่วนกลาง แต่มีปัญหาเรื่องการปรินส์ ฎีกา จึงแก้ปัญหาโดยการทำมือ ทาง สปสช เขต ให้คำแนะนำว่าจะช่วยตรวจเช็คห้ภายหลัง

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดจันทร์ โดยนายศุภชัย เผือกผ่อง 16 ส.ค. 2564 25 ส.ค. 2564

 

ลงประเมินติดตามการทำงานกองทุนสุขภาพตำบลและกองทุน LTC ตำบลวัดจันทร์

 

การดำเนินการนิเทศติดตามการดำเนินงานของกองทุนฯ จากการลงเยี่ยมในพื้นที่ พบว่า การประเมินมีดังนี้ ข้อที่ 1 อบต.มีการออกคำสั่งแต่งตั้ง จนท.รับผิดชอบงานกองทุนฯ มีเฉพราะคำสั่งกองทุน ข้อที่ 2 อบต.มีการออกคำสังแต่งตั้งคณะกรรมการ
ข้อที่ 3 กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลสมบูรณ์ ข้อที่ 4 กองทุนฯ มีการจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็น บันทึกข้อมูลบางส่วน ข้อที่ 5 กองทุนฯ มีการจัดทำแผนรับ จ่ายประจำปี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ ข้อที่ 6 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนฯ ถูกต้องสมบูรณ์ ข้อที่ 7.1-7.2 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (1) โดยมีทีมาของปัญหา วัตถุประสงค์ เอกสารการเบิกจ่าย ข้อที่ 7.3- 7.4 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (2) โดยมีทีมาของปัญหา วัตถุประสงค์ เอกสารการเบิกจ่าย ข้อที่ 7.5 - 7.6 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (3)
ข้อที่ 7.7- 7.8 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (5)
ข้อที่ 8 กองทุนฯ มีการแก้ไขปัญหาโควิดในพื้นที่ ข้อที่ 9.1 กองทุนฯ มีการจัดทำบัญชี การเงิน ถูกต้อง ข้อที่ 10 กองทุนฯ มีการบริหารการเบิกจ่ายมีประสิทธิที่ภาพที่อยู่ในเกณฑ์พอใช้ การดำเนินงานกองทุนฯ LTC พบว่า มีการออกคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการถูกต้อง มีการจัดการประชุมคณะอนุกรรมการ มีการรายงานผลการจัดบริการ

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต. โรง โดยนายคฑาวุธ คงเย็น 16 ส.ค. 2564 18 ส.ค. 2564

 

ลงประเมินติดตามการทำงานกองทุนสุขภาพตำลและกองทุน LTC อบต.โรง

 

การดำเนินการนิเทศติดตามการดำเนินงานของกองทุนฯ จากการลงเยี่ยมติดตามผ่านระบบออนไลน์ วีดีโอคอล พบว่า การประเมินมีดังนี้ ข้อที่ 1 อบต.ไม่มีการออกคำสั่งแต่งตั้ง จนท.รับผิดชอบงานกองทุนฯ มีเฉพราะคำสั่งกองทุน ข้อที่ 2 อบต.มีการออกคำสังแต่งตั้งคณะกรรมการ ปี 61
ข้อที่ 3 กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลบางส่วนไม่สมบูรณ์ ข้อที่ 4 กองทุนฯ มีการจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็น มีการบันทึกข้อมูลบางส่วน ไมสมบูรณ์ ข้อที่ 5 กองทุนฯ ไม่มีการจัดทำแผนรับ จ่ายประจำปี
ข้อที่ 6 กองทุนฯ ไม่มีการจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนฯ ข้อที่ 7.1-7.2 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (1) โดยมีทีมาของปัญหา วัตถุประสงค์ เอกสารการเบิกจ่าย ข้อที่ 7.3- 7.4 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (2) โดยมีทีมาของปัญหา วัตถุประสงค์ เอกสารการเบิกจ่าย ข้อที่ 7.5 - 7.6 กองทุนฯ ไม่มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (3)
ข้อที่ 7.7- 7.8 กองทุนฯ ไม่มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (5) ข้อที่ 8 กองทุนฯ มีการแก้ไขปัญหาโควิดในพื้นที่ ข้อที่ 9.1 กองทุนฯ มีการจัดทำบัญชี การเงิน แต่ไม่ถูกต้อง ข้อที่ 10 กองทุนฯ มีการบริหารการเบิกจ่ายมีประสิทธิที่ภาพที่อยู่ในเกณฑ์พอใช้ การดำเนินงานกองทุนฯ LTC พบว่า มีการออกคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการไม่ถูกต้อง แต่ยังไม่มีการจัดการประชุมคณะอนุกรรมการ

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน โดยนางเพียงขวัญ กาญจนเพ็ญ 16 ส.ค. 2564 19 ส.ค. 2564

 

ลงประเมินติดตามการทำงานกองทุนสุขภาพตำบลและกองทุน LTC ตำบลท่าหิน

 

การดำเนินการนิเทศติดตามการดำเนินงานของกองทุนฯ จากการลงเยี่ยมในพื้นที่ พบว่า การประเมินมีดังนี้ ข้อที่ 1 อบต.มีการออกคำสั่งแต่งตั้ง จนท.รับผิดชอบงานกองทุนฯ มีเฉพราะคำสั่งกองทุน ข้อที่ 2 อบต.มีการออกคำสังแต่งตั้งคณะกรรมการ
ข้อที่ 3 กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลสมบูรณ์ ข้อที่ 4 กองทุนฯ มีการจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็น มีการบันทึกข้อมูลบางส่วน ไม่สมบูรณ์ ข้อที่ 5 กองทุนฯ มีการจัดทำแผนรับ จ่ายประจำปี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ ข้อที่ 6 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนฯ ถูกต้องสมบูรณ์ ข้อที่ 7.1-7.2 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (1) โดยมีทีมาของปัญหา วัตถุประสงค์ เอกสารการเบิกจ่าย ข้อที่ 7.3- 7.4 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (2) โดยมีทีมาของปัญหา วัตถุประสงค์ เอกสารการเบิกจ่าย ข้อที่ 7.5 - 7.6 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (3)
ข้อที่ 7.7- 7.8 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (5) ข้อที่ 8 กองทุนฯ มีการแก้ไขปัญหาโควิดในพื้นที่ ข้อที่ 9.1 กองทุนฯ มีการจัดทำบัญชี การเงิน ถูกต้อง ข้อที่ 10 กองทุนฯ มีการบริหารการเบิกจ่ายมีประสิทธิที่ภาพที่อยู่ในเกณฑ์พอใช้ การดำเนินงานกองทุนฯ LTC พบว่า มีการออกคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการถูกต้อง มีการจัดการประชุมคณะอนุกรรมการ มีการรายงานผลการจัดบริการ

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC เทศบาลตำบลบ่อตรุ โดยนายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล 17 ส.ค. 2564 26 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC 2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) 3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี 4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม 5. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี 6. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) 7. การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5) 8. กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ 9. จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน 10. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 1. คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC 2. การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ 3. กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC 4. การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC • มี
2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่งครบองค์ประกอบ 3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564   • บันทึกข้อมูลครบถ้วน 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช.   • บันทึกข้อมูลครบถ้วน
3.3. กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบจาก อปท.   • บันทึกข้อมูลครบถ้วน
3.4 กองทุนมีการบันทึกจำนวนดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี   • บันทึกข้อมูลครบถ้วน
4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร   • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่   • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์ 5. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • ไม่มีการจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี 6. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ถูกต้องสมบูรณ์ 7. การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
7.1 ประเภท 10(1) โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กและเด็กก่อนวัยเรียน   • ที่มาของปัญหา (มี)   • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)   • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)   • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงานผลการดำเนินงานกับกองทุน) 7.2 ประเภท 10(1) โครงการข้อดีหนีข้อเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย   • ที่มาของปัญหา (มี)   • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)   • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)   • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงานผลการดำเนินงานกับกองทุน) 7.3 ประเภท 10(2) โครงการส่งเสริมการเต้นแอโรบิกชุมชนวัดสนพัฒนา   • ที่มาของปัญหา (มี)   • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)   • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารรับเงินครบถ้วน(เอกสารรับเงินครบถ้วน)   • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น/ขอขยายจากโรคโควิด19) 7.4 ประเภท 10(2) โครงการส่งเสริมการเต้นแอโรบิกชุมชนสีประดู่พัฒนา   • ที่มาของปัญหา (มี)   • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)   • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)   • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น/ขอขยายจากโรคโควิด19) 7.5 ประเภท 10(3) (ไม่มีโครงการในปี 2563 และ 2564) 7.6 ประเภท 10(3) (ไม่มีโครงการในปี 2563 และ 2564) 7.7 ประเภท 10(5) โครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคระบาด/ภัยพิบัติในพื้นที่   • ที่มาของปัญหา (มี)   • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)   • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)   • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีการรายงานผล) 7.8 ประเภท 10(5) มีการดำเนินโครงการเดียว 8. การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่   • มี ถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1 ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ)   • ไม่มีการอนุมัติโครงการ 9. การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน   • ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ   • ถูกต้อง 10. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 1. คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LCT • มี ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ
2. การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LCT • ไม่มีการประชุม 3. การโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LCT • ยังไม่มีการดำเนินการ
4. การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ • ยังไม่มีการดำเนินการ

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหม่อม โดยนางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์ และนางดวงใจ อ่อนแก้ว 18 ส.ค. 2564 6 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP    (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

• มี

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่งครบองค์ประกอบ

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร • มี
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • มี
3.3. เงินสมทบจาก อปท. • มี
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • มี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1) อนุมัติแต่ยังไม่ดำเนินการ

ประเภท 10(2) มีประเมินโครงการปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งโตนด

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ไม่มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น)


ประเภท 10(3) โครงการตรวจคัดกรองโรคตาและช่วยเหลือความผิดปกติทางสายตาในผู้สูงอายุ

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ไม่มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น)

ประเภท 10(5) ไม่มีโครงการประเภท 5

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ • ไม่มี

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน • ถูกต้อง

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

• มี ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

• มีครบถ้วนสมบูรณ์

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC • ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP    (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ) • ไม่มีรายงานผลการจัดบริการ เนื่องจากยังไม่เสร็จสิ้นการดำเนินการ

ปัญหาอุปสรรค์กองทุนฯ - มีความกังวลเรื่องการจัดทำแผน การอนุมัติโครงการ

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พังยาง โดยนายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล 19 ส.ค. 2564 27 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC 2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) 3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี 4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม 5. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี 6. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) 7. การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5) 8. กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ 9. จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน 10. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 1. คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC 2. การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ 3. กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC 4. การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC • มี
2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่งครบองค์ประกอบ 3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 • บันทึกข้อมูลครบถ้วน 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • บันทึกข้อมูลครบถ้วน
3.3. กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบจาก อปท. • บันทึกข้อมูลครบถ้วน
3.4 กองทุนมีการบันทึกจำนวนดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • บันทึกข้อมูลครบถ้วน
4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์ 5. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • ไม่มีการจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี 6. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ถูกต้องสมบูรณ์ 7. การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
7.1 ประเภท 10(1) โครงการปรับพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงานผลการดำเนินงานกับกองทุน) 7.2 ประเภท 10(1) โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงานผลการดำเนินงานกับกองทุน) 7.3 ประเภท 10(2) โครงการคัดกรองโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน(เอกสารรับเงินครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น/ขอขยายจากโรคโควิด19) 7.4 ประเภท 10(2) โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยร่างกายและช่องปากนักเรียน • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น/ขอขยายจากโรคโควิด19) 7.5 ประเภท 10(3) (ไม่มีโครงการในปี 2563 และ 2564) 7.6 ประเภท 10(3) (ไม่มีโครงการในปี 2563 และ 2564) 7.7 ประเภท 10(5) (ไม่มีโครงการในปี 2563 และ 2564) 7.8 ประเภท 10(5) (ไม่มีโครงการในปี 2563 และ 2564) 8. การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ • มี ถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1 ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) • ไม่มีการอนุมัติโครงการ 9. การจัดทำบัญชี-การเ งินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน • ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ • ถูกต้อง 10. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย • มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30 % • มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 • ยังไม่มีการดำเนินการ LCT

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะกอม โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ 19 ส.ค. 2564 23 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

• มี

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่งครบองค์ประกอบ

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร • มี
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • มี
3.3. เงินสมทบจาก อปท. • มี
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • มี 1 ครั้ง

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ • บันทึกข้อมูลบางส่วน

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1)
โครงการฟันสวยยิ้มใส เด็กสะกอมฟันดี ปีงบประมาณ 2563 โครงการฝากครรภ์คุณภาพ เพื่อมารดาและทารกสุขภาพดี ปี 2563


• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

ประเภท 10(2)
โครงการธนาคารขยะ บ้านเขาน้อย โครงการส่งเสริมสุขภาพเยาวชนและเรียนรู้ทักษะด้วยกีฬาฟุตบอล


• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน)

ประเภท 3

โครงการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อและจัดทำหน้ากากอนามัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดคงคาสวัสดิ์

โครงการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพรุหลุมพี • ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน)

ประเภท 10(5)

โครงการสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ประจำปีงบประมาณ 2564


• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีมีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ • มีโครงการโควิดฯ /ไม่มี ฉ 3

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบไ-บัญชีธนาคารตรงกัน • จำนวนเงินคงเหลือในระบบไม่ถูกต้อง-บัญชีธนาคารตรงกัน มีรายงานไตรมาส

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

ยังไม่ได้สมัคร LTC

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา โดยนายพงษ์ศักดิ์ ศรีรัตน์ 19 ส.ค. 2564 26 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

จากการประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการ LTC กองทุนสุขภาพตำบล พบว่า 1 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
• มีตราคำสั้งผิด

2 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
• มีตราคำสั่งผิด

3 การบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร • มี
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • มี
3.3. เงินสมทบจาก อปท. • มี
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • มี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร
• มี

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่
• บันทึกข้อมูลสมบูรณ์ แต่มีแผนจำนวนน้อย

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี
• มี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)
• มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ

ประเภท 10(5) โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา • ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น)


8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่
• มี

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน
• จำนวนเงินถูกต้อง รายงานไตรมาส

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน
• มีหติดตามประเมินผล

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC
• มี ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ
• มีการประชุม

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC
• ศูนย์พัฒนฯ

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)
• มีรายงานผลการจัดบริการ

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดีหลวง โดยนายศุภชัย เผือกผ่อง 20 ส.ค. 2564 28 ส.ค. 2564

 

ลงประเมินติดตามการทำงานกองทุนสุขภาพตำบลและกองทุน LTC ตำบลดีหลวง

 

การดำเนินการนิเทศติดตามการดำเนินงานของกองทุนฯ จากการลงเยี่ยมในพื้นที่ พบว่า การประเมินมีดังนี้ ข้อที่ 1 อบต.มีการออกคำสั่งแต่งตั้ง จนท.รับผิดชอบงานกองทุนฯ มีเฉพราะคำสั่งกองทุน ข้อที่ 2 อบต.มีการออกคำสังแต่งตั้งคณะกรรมการ
ข้อที่ 3 กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลสมบูรณ์ ข้อที่ 4 กองทุนฯ ไม่มีมีการจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็น
ข้อที่ 5 กองทุนฯ มีการจัดทำแผนรับ จ่ายประจำปี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ ข้อที่ 6 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนฯ ถูกต้องสมบูรณ์ ข้อที่ 7.1-7.2 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (1) โดยมีทีมาของปัญหา วัตถุประสงค์ เอกสารการเบิกจ่าย ข้อที่ 7.3- 7.4 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (2) โดยมีทีมาของปัญหา วัตถุประสงค์ เอกสารการเบิกจ่าย ข้อที่ 7.5 - 7.6 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (3)
ข้อที่ 7.7- 7.8 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (5) ไม่มี ข้อที่ 8 กองทุนฯ มีการแก้ไขปัญหาโควิดในพื้นที่ ข้อที่ 9.1 กองทุนฯ มีการจัดทำบัญชี การเงิน ถูกต้อง ข้อที่ 10 กองทุนฯ มีการบริหารการเบิกจ่ายมีประสิทธิที่ภาพที่อยู่ในเกณฑ์พอใช้ การดำเนินงานกองทุนฯ LTC พบว่า มีการออกคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการถูกต้อง ไม่มีการจัดการประชุมคณะอนุกรรมการ ไม่มีการรายงานผลการจัดบริการ

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนรู โดยนางดวงใจ อ่อนแก้ว และนางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์ 20 ส.ค. 2564 27 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC 2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) 3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี 4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม 5. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี 6. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) 7. การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5) 8. กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ 9. จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน 10. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 1. คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC 2. การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ 3. กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC 4. การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC • มี
2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่งครบองค์ประกอบ 3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 • บันทึกข้อมูลครบถ้วน 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • บันทึกข้อมูลครบถ้วน
3.3. กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบจาก อปท. • บันทึกข้อมูลครบถ้วน
3.4 กองทุนมีการบันทึกจำนวนดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • บันทึกข้อมูลครบถ้วน

  1. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

  2. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • ไม่มีการจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

  3. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ถูกต้องสมบูรณ์

  4. การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ

    7.1 ประเภท 10(1)
    • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ไม่มีการรายงานผลการดำเนินงานกับกองทุน)

    7.2 ประเภท 10(1)
    • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ไม่มีการรายงานผลการดำเนินงานกับกองทุน)

    7.3 ประเภท 10(2)
    • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน(เอกสารรับเงินครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น/ขอขยายจากโรคโควิด19)

    7.4 ประเภท 10(2)
    • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น/ขอขยายจากโรคโควิด19)

    7.5 ประเภท 10(3)
    • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น/ขอขยายจากโรคโควิด19)

    7.7 ประเภท 10(5)
    • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น/ขอขยายจากโรคโควิด19)

    7.8 ประเภท 10(5) • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น/ขอขยายจากโรคโควิด19)

  5. การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ • มี ถูกต้อง/สมบูรณ์

    8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1 ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) • มีการอนุมัติโครงการ

  6. การจัดทำบัญชี-การเ งินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน • ถูกต้อง

    9.2 มีการรายงานการเงินรายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ • ถูกต้อง

  7. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย • มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30 % • มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 • ยังไม่มีการดำเนินการ LCT โอนเงินให้ รพสต.

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโหย โดยนางดวงใจ อ่อนแก้ว และ น.ส. ดวงดาว อุปสิทะิ์ 20 ส.ค. 2564 27 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC 2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) 3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี 4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม 5. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี 6. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) 7. การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5) 8. กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ 9. จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน 10. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 1. คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC 2. การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ 3. กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC 4. การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC • มี

  1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่งครบองค์ประกอบ

  2. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
    3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564   • บันทึกข้อมูลครบถ้วน

    3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช.   • บันทึกข้อมูลครบถ้วน

    3.3. กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบจาก อปท.   • บันทึกข้อมูลครบถ้วน

    3.4 กองทุนมีการบันทึกจำนวนดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี   • บันทึกข้อมูลครบถ้วน

  3. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร   • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

    4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่   • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

  4. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • มีการจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

  5. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ถูกต้องสมบูรณ์

  6. การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
    7.1 ประเภท 10(1) คก อบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัวโคโณนาฯ
      • ที่มาของปัญหา (มี)   • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)   • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)   • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ไม่มีการรายงานผลการดำเนินงานกับกองทุน)

    7.2 ประเภท 10(1) โครงการเสริมทักษะการดูแลสุขภาพฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง   • ที่มาของปัญหา (มี)   • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)   • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)   • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ไม่มีการรายงานผลการดำเนินงานกับกองทุน)

    7.3 ประเภท 10(2) โครงการฟันสวย ยิ้มสดใส   • ที่มาของปัญหา (มี)   • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)   • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารรับเงินครบถ้วน(เอกสารรับเงินครบถ้วน)   • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )




7.7 และ 7.8 ประเภท 10(5) โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสาธารณะสุขกรณีการเกิดการระบาดต่อโรคติดต่ออันนตรายตามกฎหมายว่าด้วยเชื้อไวรัสโคโรนา   • ที่มาของปัญหา (มี)   • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)   • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)   • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงานผล)
8. การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่   • มี ถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1 ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ)   • มีการอนุมัติโครงการ 9. การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน   • ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ   • ถูกต้อง 10. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลายมีการติดตาม

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 1. คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LCT • มี ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ
2. การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LCT • มีการประชุม 3. การโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LCT • โอเงินให้ รพสต
4. การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ มีรายงาน

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง โดยนางชโลม เกตุจินดา 20 ส.ค. 2564 27 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC 2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) 3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี 4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม 5. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี 6. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) 7. การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5) 8. กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ 9. จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน 10. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 1. คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC 2. การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ 3. กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC 4. การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC • มี

  1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่งครบองค์ประกอบ

  2. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
    3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564   • บันทึกข้อมูลครบถ้วน

    3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช.   • บันทึกข้อมูลครบถ้วน

    3.3. กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบจาก อปท.   • บันทึกข้อมูลครบถ้วน

    3.4 กองทุนมีการบันทึกจำนวนดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี   • บันทึกข้อมูลครบถ้วน

  3. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร   • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

    4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่   • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

  4. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • มีการจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

  5. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ถูกต้องสมบูรณ์

  6. การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
    7.1 ประเภท 10(1) คก รณรงค์คัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกฯ   • ที่มาของปัญหา (มี)   • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)   • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)   • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงานผลการดำเนินงานกับกองทุน)

    7.2 ประเภท 10(1) โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก   • ที่มาของปัญหา (มี)   • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)   • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)   • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงานผลการดำเนินงานกับกองทุน)

    7.3 ประเภท 10(2) โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน   • ที่มาของปัญหา (มี)   • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)   • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารรับเงินครบถ้วน(เอกสารรับเงินครบถ้วน)   • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

    7.4 ประเภท 10(2) โครงการรำกลองยาวเพื่อสุขภาพฯ   • ที่มาของปัญหา (มี)   • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)   • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารรับเงินครบถ้วน(เอกสารรับเงินครบถ้วน)   • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )
    7.5 ประเภท 10(3) โครงการเสริมสุขภาพผู้สูงวัยใส่ใจข้อเขาเสื่อม   • ที่มาของปัญหา (มี)   • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)   • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารรับเงินครบถ้วน(เอกสารรับเงินครบถ้วน)   • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )
    7.7 และ 7.8 ประเภท 10(5) โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม. สาธารณสุข เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดโควิด-19ฯ   • ที่มาของปัญหา (มี)   • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)   • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)   • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)   • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีการรายงานผล) 7.8 ประเภท 10(5) มีการดำเนินโครงการเดียว

  7. การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่   • มี ถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1 ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ)   • มีการอนุมัติโครงการ
  8. การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน   • ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ   • ถูกต้อง
  9. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลายมีการติดตาม

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 1. คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LCT • มี ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ
2. การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LCT • มีการประชุม 3. การโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LCT • โอเงินให้ศูนย์
4. การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ มีรายงาน

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขียด โดยนางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ 20 ส.ค. 2564 20 ส.ค. 2564

 

ประเมินเยี่ยมการทำงานกองทุนบางเขียด ปี 64 มีโครงการ 2 ประเภท คือ โครงการประเภทที่ 4  และประเภทที่ 5  เนื่องจากปีนี้มีสถานการณ์โควิดทำให้โครงการอื่นๆ ได้นำไปทบทวนแผนในปี 65

 

ได้ดำเนินการประเมินกองทุนตำบลและการจัดบริการ LTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขียด
และได้ให้คำแนะนำในการจัดทำเอกสารให้ถูกประเภทโดยยึดหลักเกณฑ์แหล่งที่มาของผู้ขอ  กองทุนมีการจัดทำเอกสารและการลงระบบเรียบร้อยดีเนื่องจาก ปปช.ได้ลงพื้นที่มาแล้วครั้งหนึ่ง
การจัดบริการ LTC กองทุนฯ ได้ขอดำเนินการแล้วในปี 64 กำลังดำเนินการให้ทาง รพสต.คีย์ข้อมูล ความคิดเห็นเพิ่มเติม - กองทุนฯ สามารถหนุนเสริมการทำงานของ อบต.ได้ดี สามารถเข้าถึงและช่วยเหลือประชาชนได้จริงและทั่วถึง
- การบันทึกข้อมูลในระบบละเอียดมาก ทำให้ไม่สามารถลงรายละเอียดในระบบได้ละเอียดครบถ้วน - พี่เลี้ยง หรือการหนุนเสริมของเจ้าหน้าที่ สปสช. ช่วยให้การทำงานเป็นไปได้ด้วยดี

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบลอบต.คลองอู่ตะเภา โดยนางดวงใจ อ่อนแก้ว และดวงดาว อุปสิทธิ์ 24 ส.ค. 2564 26 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC 2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) 3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี 4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม 5. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี 6. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) 7. การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5) 8. กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ 9. จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน 10. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 1. คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC 2. การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ 3. กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC 4. การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC • มี
2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่งแต่ไม่ถูกต้อง 3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 • บันทึกข้อมูลครบถ้วน 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • บันทึกข้อมูลครบถ้วน
3.3. กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบจาก อปท. • บันทึกข้อมูลครบถ้วน
3.4 กองทุนมีการบันทึกจำนวนดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • บันทึกข้อมูลครบถ้วน

  1. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

  2. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • มีการจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

  3. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ถูกต้องสมบูรณ์

  4. การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ

    7.1 ประเภท 10(1) โครงการดูแลผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม ด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงานผลการดำเนินงานกับกองทุน)

    7.2 ประเภท 10(1) ลดละเลิก ปลอดโฟมพลาสติก • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงานผลการดำเนินงานกับกองทุน)

    7.3 ประเภท 10(2) ส่งเสริมสุขภาพโดยการออกกำลังกาย ม 3 ฯ • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน(เอกสารรับเงินครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน)

    7.4 ประเภท 10(2) วัยเรียนวัยใส ทุกวัยเข้าใจโรคเอดส์ฯ
    • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

    7.5 ประเภท 10(3) อิ่มท้องสมองแจ่มใส • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

    7.7 ประเภท 10(5) ควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาสุขภาพกรณีเกิดโรค ระบาด หรือภัยภิบัติ
    • ที่มาของปัญหา (มี) • วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง) • ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม) • เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน) • การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ยังไม่มีการรายงาน )


  1. การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ • มี ถูกต้อง/สมบูรณ์

    8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1 ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) • ไม่มีการอนุมัติโครงการ

  2. การจัดทำบัญชี-การเ งินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน • ถูกต้อง

    9.2 มีการรายงานการเงินรายไตรมาส และรายปี โดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ • ถูกต้อง

  3. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย • มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30 % • มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 • ยังไม่มีการดำเนินการ LCT โอนเงินให้ รพสต. มีกรรมการครบองค์ประกอบ

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลเกาะแต้ว โดยนายสุทธิพงศ์ อุสาหะพงษ์สิน 24 ส.ค. 2564 26 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

จากการประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการ LTC กองทุนสุขภาพตำบล พบว่า 1 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
• มีตราคำสั้งผิด

2 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
• มีตราคำสั่งผิด

3 การบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร • มี
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • มี
3.3. เงินสมทบจาก อปท. • มี
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • มี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร
• มี

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่
• บันทึกข้อมูลสมบูรณ์ แต่มีแผนจำนวนน้อย

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี
• มี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)
• มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1) เกาะแด้วรักสุขภาพห่างไกลมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกและโครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก • ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีรายงาน)

ประเภท 10(2) ตลาดนัดสีเขียว • ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีรายงาน)

ประเภท 10(3) สร้างสุขภาพเด็กและเยาวชน และโครงการสานสัมพันธ์ด้วยสุขภาพ ประจำปี 2563 • ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

ประเภท 10(5) โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขประชาชนฯ
• ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น)


8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่
• มี

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน
• จำนวนเงินถูกต้อง ไม่มีรายงานไตรมาส

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน
• มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC
• มี ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ
• มีการประชุม

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC
• ศูนย์พัฒนฯ

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)
• มีรายงานผลการจัดบริการ

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกำแพงเพชร โดยนายสมโภช ยอดดี นางดวงใจ อ่อนแก้ว และน.ส.ดวงดาว อุปสิทธิ์ 25 ส.ค. 2564 27 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

• มี

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่งครบองค์ประกอบ

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร • มี
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • มี
3.3. เงินสมทบจาก อปท. • มี
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • มี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1) โครงการคัดกรองโรคเบาหมานและความดันโลหิต ฯ /ลดละเล ิกบุหรี่

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

ประเภท 10(2) โครงการเย่าวชนรุ่นใหม่ห่างไกลยาเสพติด

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน)

ประเภท 10(5) โครงการเฝ้่าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน )

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ • ไม่มี

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน • ถูกต้อง

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

• มี ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

• มีครบถ้วนสมบูรณ์

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC • ศูนย์ฟื้นฟูคุณภาพชีวิตและคนพิการฯ

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีกรรมการครบองค์ มีการโอนเงิยให้ศูนย์

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบลอบต.เกาะใหญ่ โดยนายคฑาวุธ คงเย็น 25 ส.ค. 2564 18 ส.ค. 2564

 

ลงประเมินติดตามการทำงานกองทุนสุขภาพตำลและกองทุน LTC อบต.เกาะใหญ่

 

การดำเนินการนิเทศติดตามการดำเนินงานของกองทุนฯ จากการลงเยี่ยมติดตามผ่านระบบออนไลน์ วีดีโอคอล พบว่า การประเมินมีดังนี้ ข้อที่ 1 อบต.มีการออกคำสั่งแต่งตั้ง จนท.รับผิดชอบงานกองทุนฯ ข้อที่ 2 อบต.มีการออกคำสังแต่งตั้งคณะกรรมการ ปี 61 ถูกต้องครบถ้วน ข้อที่ 3 กองทุนฯ มีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม ข้อที่ 4 กองทุนฯ มีการจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในระบบโปรแกรม ข้อที่ 5 กองทุนฯ มีการจัดทำแผนรับ จ่ายประจำปี โดยผ่านการอนุมัติจากกรรมการ ข้อที่ 6 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนฯ ข้อที่ 7.1 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (1) โดยมีทีมาของปัญหา วัตถุประสงค์ เอกสารการเบิกจ่าย ข้อที่ 7.2 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (2) โดยมีทีมาของปัญหา วัตถุประสงค์ เอกสารการเบิกจ่าย ข้อที่ 7.3 กองทุนฯ ไม่มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (3)
ข้อที่ 7.4 กองทุนฯ มีการจัดทำโครงการด้านสุขภาพ ตามข้อ 10 (5) โดยมีทีมาของปัญหา วัตถุประสงค์ เอกสารการเบิกจ่าย ข้อที่ 8 กองทุนฯ มีการแก้ไขปัญหาโควิดในพื้นที่ ข้อที่ 9.1 กองทุนฯ มีการจัดทำบัญชี การเงิน แต่ไม่ถูกต้อง ข้อที่ 10 กองทุนฯ มีการบริหารการเบิกจ่ายมีประสิทธิที่ภาพที่อยู่ในเกณฑ์ดี การดำเนินงานกองทุนฯ LTC พบว่า มีการออกคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการถูกต้อง แต่ยังไม่มีการจัดการประชุมคณะอนุกรรมการ

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยลึก โดยนางชโลม เกตุจินดา 25 ส.ค. 2564 20 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

• มี

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) • มีคำสั่งครบองค์ประกอบ

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร • มี
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • มี
3.3. เงินสมทบจาก อปท. • มี
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • มี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ • บันทึกข้อมูลสมบูรณ์

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี • มี และผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) • มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น)

ประเภท 10(2)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น)


ประเภท 10(3)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น)

ประเภท 10(5)

• ที่มาของปัญหา (มี)

• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)

• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)

• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)

• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น) 8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่ • ไม่มี

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน • ถูกต้อง

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน • มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564 ยังไม่สมัคร LTC

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะวง โดยนางดวงใจ อ่อนแก้ว และดวงดาว อุปสิทธิ์ 26 ส.ค. 2564 19 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

 

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสะบ้าย้อย โดยนางดวงใจ อ่อนแก้ว และน.ส.ดวงดาว อุปสิทธิ์ 27 ส.ค. 2564 25 ส.ค. 2564

 

ประเมินกองทุนฯ
1 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC

2 อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)

3 กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร 3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. 3.3. เงินสมทบจาก อปท. 3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1,2,3,5)

8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)

 

จากการประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการ LTC กองทุนสุขภาพตำบล พบว่า 1 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
• มี

2 การจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
• มีครบองค์ฯ 3 การบันทึกข้อมูลครบถ้วนในโปรแกรม
3.1 จำนวนประชากร • มี
3.2 เงินที่ได้รับจัดสรร จาก สปสช. • มี
3.3. เงินสมทบจาก อปท. • มี
3.4 ดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี • มี

4 การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของตำบลในโปรแกรม

4.1 การบันทึกแผนบริหาร
• มี

4.2 การบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่
• บันทึกข้อมูลสมบูรณ์ แต่มีแผนจำนวนน้อย

5 การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี
• มี

6 การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)
• มี ถูกต้องสมบูรณ์

7 การจัดทำโครงการด้านสุขภาพ
ประเภท 10(1) โครงการป้องกันและควบคุมโรคในเขตเมือง • ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (ไม่มีรายงาน )

ประเภท 10(2) ลดละเลิดบุหรี่ • ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีรายงาน)


ประเภท 10(5) โครงการสนับสนุนการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 • ที่มาของปัญหา (มี)
• วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา (สอดคล้อง)
• ค่าใช้จ่ายเหมาะสม (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง (ค่าใช้จ่ายเหมาะสม)
• เอกสารรับเงินครบถ้วน (เอกสารครบถ้วน)
• การรายงานผลการดำเนินงานโครงการกับมายังกองทุน (มีการรายงาน เนื่องจากยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น)


8 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 หรือไม่
• มี และได้อนุมัติ ฉ 3

9 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน
• จำนวนเงินถูกต้อง มีรายงานไตรมาส

10 ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน
• ใช้คงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% มีติดตามโครงการ

การดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2564

1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC
• มี ถูกต้องครบถ้วนตามองค์ประกอบ มีการโอนเงินให้ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตฯ

2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการประชุมและกำหนดการ ( 2 ครั้ง/ปี) (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศ
• มีการประชุม

3 กองทุนมีการโอนเงินให้หน่วยจัดบริการ LTC
• ศูนย์พัฒนฯ

4 การใช้เงินของหน่วยจัดบริการ
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง : มีหลักฐานการควบคุมและติดตามการจัดบริการของ CG และหรือเอกสารการจัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ตาม CP (กองทุนฯ นำเสนอข้อมูลหรือเอกสารแสดงต่อผู้เข้านิเทศติดตามฯ)
• มีรายงานผลการจัดบริการ

 

การประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานกองทุนตำบลและ การจัดบริการLTC กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลชะแล้ โดยนางสาวกรเกศ สมัครพงศ์ 27 ส.ค. 2564 20 ส.ค. 2564

 

ประเมินเยี่ยมติดตามการทำงานตำบล และการจัดบริการLTC กองทุนตำบล เทศบาลชะแล้ โดยผ่านออนไลน์ Zoom เป็นการประเมินผลปี 64 มี 3 ประเภท คือ ประเภทที่ 2 ,3 ,4 และ5 ประเภทละ 1 โครงการ

 

การประเมินผลใช้แบบฟอร์มในGoogle form ของ สปสช. ทางกองทุนได้อนุมัติโครงการและเบิกจ่ายในเดือนมิถุนายน
ประเภ่ทที่ 2 กิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อส่งให้ผู้ป่วยติดโควิด และกลุ่มผู้สูงอายุและติดเตียง แนะนำให้มีการเก็บเมล็ดพันธุ์เพื่อความมั่นคงทางอาหารของชุมชน ประเภทที่ 3 กิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษในศูนย์เด็ก เพื่อส่งให้กับเด็กเล็กของศูนย์ฯ และผู้สูงอายุ ประเภทที่ 4 บริหารจัดการ  มีการซื้อโน๊ตบุค โดยให้คำแนะนำในเรื่องการจัดซื้่อและการหักภาษี ประเภทที่ 5 การป้องกันการแพร่กระจายไวรัสโคโรน่า แนะนำให้ปรับไปใช้ในประเภทที่ 1    เนื่องจาก อบต.เป็นผู้ขอ การจัดบริการ LTC ได้มีการจัดบริการในปี 64 มีคำสั่ง การประชุมอนุ และโอนเงินให้กับศูนย์เรียบร้อย แต่ยังไม่ได้รายงานผลการดำเนินงานเนื่องจากยังไม่ถึงกำหนด ข้อเสนอแนะ - กองทุนมีประโยชน์ทำให้เกิดการทำงานร่วมกันของเครือข่ายในชุมชน มีโครงการเข้ามาในส่วนที่ทางเทศบาลอาจจะมองไม่เห็น  ในสถานการณ์โควิดช่วยได้มากและทั่วถึง - เอกสารในการทำงานกองทุนมีมาก  เจ้าหน้าที่กองทุนยังไม่แม่น - ปี64 เริ่มมีการทำโครงการผ่านระบบ  ช่วยลดภาระให้กับเจ้าหน้าที่กองทุนได้มาก - มีเลี้ยงมีส่วนช่วยในการทำงานกองทุนได้มาก

 

ประชุมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดสงขลาครั้งที่ 3 28 ส.ค. 2564 18 ส.ค. 2564

 

ประชุมพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลจังหวัดสงขลา  ประจำปี 2564 ครั้งที่ 4/2564 วันที่ 5  มิถุนายน ๒๕64 เวลา 09.00 น. ประชุมผ่าน ZOOM

วัตถุประสงค์

1 ประชุมติดตามงานพี่เลี้ยงและชี้แจงรายงงานการส่งงวด ที่ 2 ในโครงการพี่เลี้ยง

2 ชี้แจงการจัดสรรค่าตอบแทนพี่เลี้ยงในการดำเนินการลงพื้นที่ งวดที่ 1 และงวดที่ 2

3 ชี้แจงแนวทาง ปปช.ลงพื้นที่และรับสมัครตัวแทนพี่เลี้ยงในการลงพื้นที่ติดตามมาตรการป้องกันการทุจริตฯ

เวลา กำหนดการ 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-09.30 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุมพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลจังหวัดสงขลา  ประจำปี 2564
โดย นางสาวจุฑา สังขชาติ
09.30-10.00 น. ระเบียบวาระที่ ๑  เรื่องประธานแจ้งเพื่อทราบ
โดยนางดวงใจ อ่อนแก้ว ประธานพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล
10.00-10.30 น. ระเบียบวาระที่ ๒  รายงานการปิดงวด 2 โครงการพี่เลี้ยง
โดยนางสาวบารีย๊ะ ยาดำ
13.30-11.00 น. ระเบียบวาระที่ ๓  ชี้แจ้งการลงพื้นที่พี่เลี้ยงและการจัดสรรงบประมาณค่าตอบแทนพี่เลี้ยง
โดยนางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์ พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล
11.00-11.30 น. ระเบียบวาระที่ 4  ชี้แจงแนวทาง ปปช.ลงพื้นที่และรับสมัครตัวแทนพี่เลี้ยงในการลงพื้นที่ติดตามมาตรการป้องกันการทุจริตฯ
โดยนางดวงใจ อ่อนแก้ว ประธานพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล
11.30-12.00 น. ระเบียบวาระที่ 5  แลกเปลี่ยนข้อมูลการทำงานและการลงพื้นที่พี่เลี้ยง โดยนางดวงใจ อ่อนแก้ว ประธานพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล
12.00 น. ปิดการประชุม

 

1 เกิดการประชุมติดตามงานพี่เลี้ยงและชี้แจงรายงงานการส่งงวด ที่ 2 ในโครงการพี่เลี้ยง

2 เกิดการชี้แจงการจัดสรรค่าตอบแทนพี่เลี้ยงในการดำเนินการลงพื้นที่ งวดที่ 1 และงวดที่ 2

3 เกิดการแลกเปลี่ยน ปปช.ลงพื้นที่ในการลงพื้นที่ติดตามมาตรการป้องกันการทุจริตฯและ แลกเปลี่ยนข้อมูลการทำงานและการลงพื้นที่พี่เลี้ยง

4 เกิดการวางแผนการทำงานกองทุนฯ งวด 3