กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ รหัส กปท. L3011

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
เด็กตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ห่างไกลยาเสพติด ประจำปี 2568
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงเรียนตาดีกานูรูลวะห์ดะห์
กลุ่มคน
1 นายรอโซลอีซอ
2 นางสาวมารีเยาะอีซอ
3 นางสาวมารีแยบาหะ
4 นางสาวแวรอซียะห์แวบือเฮง
5 นางสาวแวรอมละห์เจะมะแซ
3.
หลักการและเหตุผล

ปัญหายาเสพติด นับว่าเป็นหนึ่งในปัญหาสังคมที่รุนแรงที่สุดในแต่ละประเทศทั่วโลก ถึงแม้ว่าจะมีมาตรการ รวมถึงนโยบาย ต่าง ๆ เพื่อป้องกันและแก้ไขมาอย่างต่อเนื่อง โดยจากข้อมูลรายงาน World Drug Report 2022 ของสำนักงานว่าด้วยยาเสพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ (UNODC : United Nations Office on Drugs and Crime) พบว่าในปี 2563 มีจำนวนประชากรกว่า 284 ล้านคนจากทั่วโลก ในช่วงอายุ 15-64 ปี ที่ติดยาเสพติด ซึ่งคิดเป็น 26% เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับสิบปีที่ผ่านมา นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ติดยาเสพติดมีแนวโน้มที่จะมีอายุน้อยลงเรื่อย ๆ เด็กและเยาวชนมีการใช้ยาเสพติดมากกว่าผู้ใหญ่รวมถึงใช้ในปริมาณที่มากกว่าเช่นเดียวกัน รูปแบบการค้ายาเสพติดมีความยืดหยุ่นและหลากหลายขึ้นกว่าแต่ก่อน อาทิ การใช้เส้นทางเดินเรือเพื่อลำเลียงยาเสพติด การขนส่งสินค้าด้วยไปรษณีย์ รวมถึงการติดต่อซื้อขายผ่านช่องทางโซเชียลมีเดียที่มากขึ้น จากแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2565 โดยสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด(ป.ป.ส.) พบว่า ยาเสพติดที่แพร่หลายมากที่สุดยังคงเป็นยาบ้า ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 79.2 ตามมาด้วยยาไอซ์(ร้อยละ 8.3) ทั้งนี้ส่วนหนึ่งมีสาเหตุจากการที่ราคาของยาเสพติดชนิดดังกล่าวลดลงอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้ผู้เสพเข้าถึงการซื้อได้ง่ายมากขึ้นเมื่อนับรวมจำนวนยาบ้าและยาไอซ์ที่ถูกจับกุมแล้ว นับว่ามีปริมาณมากที่สุดในบรรดาประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งถือเป็นสถิติที่น่ากลัวและเป็นความท้าทายอย่างยิ่งต่อหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนในการร่วมมือกันปราบปรามปัญหายาเสพติด นอกจากนี้ ยังพบว่าการใช้ยาเสพติดอย่างต่อเนื่องมีแนวโน้มก่อให้เกิดภาวะ “สมองติดยา” หรือ ภาวะผิดปกติ ทางสมองที่ส่งผลให้สมองส่วนอยาก มีอำนาจเหนือสมองส่วนคิด กล่าวคือ เมื่อสมองออกฤทธิ์ให้ผู้เสพรู้สึกมีความสุขจากการใช้ยาเสพติด จนเกิดความเคยชิน ที่ทำให้ผู้เสพรู้สึกว่าร่างกายต้องพึ่งยา เมื่อไหร่ที่ต้องการยา ก็จะหมกหมุ่นกับการหายามาเสพ ยิ่งสมองส่วนอยากถูกกระตุ้นมากขึ้นเท่าไหร่ สมองส่วนคิดจะทำงานแย่ลง ขาดการไตร่ตรอง ยับยั้งชั่งใจจนนำไปสู่พฤติกรรมความรุนแรงที่ตามมานั่นเองเมื่อสมองที่ควบคุมการทำงานของระบบต่างๆในร่างกายมีการทำงานผิดปกติ ร่างกายก็จะเกิดอาการผิดปกติตามไปด้วย การทำงานของระบบภูมิคุ้มกันเสียหาย ทำลายระบบเลือด ทำลายปอดและสมรรถภาพของผู้เสพ ถึงชีวิต ในส่วนของจังหวัดปัตตานีได้ดำเนินงานตามที่รัฐบาลได้กำหนดให้มีแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ โดยให้ภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่ ประสานการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยกองทุนแม่ของแผ่นดิน ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่หมู่บ้าน/ชุมชน ที่ยังไม่ได้ดำเนินการ ภายในปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๖๗โดยการบูรณาการความร่วมมือของประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน ทุกภาคส่วน ปฏิบัติให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม นำไปสู่การสร้างกลไกการบริหารจัดการ เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการจัดตั้งหมู่บ้านป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ทุกหมู่บ้าน/ชุมชน โดยใช้กระบวนการ๑๐ ขั้นตอนเพื่อการจัดตั้งกองทุนแก้ไขปัญหายาเสพติดให้บรรลุผลสำเร็จถึงขั้นที่ ๖ ซึ่งจังหวัดปัตตานีมีหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน ปี ๒๕๔๗ - ๒๕๖๖ จำนวน ๓๐๐ หมู่บ้านคงเหลือหมู่บ้านหลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ปัญหายาเสพติด นับว่าเป็นหนึ่งในปัญหาสังคมที่รุนแรงที่สุดในแต่ละประเทศทั่วโลก ถึงแม้ว่าจะมีมาตรการ รวมถึงนโยบาย ต่าง ๆ เพื่อป้องกันและแก้ไขมาอย่างต่อเนื่อง โดยจากข้อมูลรายงาน World Drug Report 2022 ของสำนักงานว่าด้วยยาเสพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ (UNODC : United Nations Office on Drugs and Crime) พบว่าในปี 2563 มีจำนวนประชากรกว่า 284 ล้านคนจากทั่วโลก ในช่วงอายุ 15-64 ปี ที่ติดยาเสพติด ซึ่งคิดเป็น 26% เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับสิบปีที่ผ่านมา นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ติดยาเสพติดมีแนวโน้มที่จะมีอายุน้อยลงเรื่อย ๆ เด็กและเยาวชนมีการใช้ยาเสพติดมากกว่าผู้ใหญ่รวมถึงใช้ในปริมาณที่มากกว่าเช่นเดียวกัน รูปแบบการค้ายาเสพติดมีความยืดหยุ่นและหลากหลายขึ้นกว่าแต่ก่อน อาทิ การใช้เส้นทางเดินเรือเพื่อลำเลียงยาเสพติด การขนส่งสินค้าด้วยไปรษณีย์ รวมถึงการติดต่อซื้อขายผ่านช่องทางโซเชียลมีเดียที่มากขึ้น จากแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2565 โดยสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด(ป.ป.ส.) พบว่า ยาเสพติดที่แพร่หลายมากที่สุดยังคงเป็นยาบ้า ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 79.2 ตามมาด้วยยาไอซ์(ร้อยละ 8.3) ทั้งนี้ส่วนหนึ่งมีสาเหตุจากการที่ราคาของยาเสพติดชนิดดังกล่าวลดลงอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้ผู้เสพเข้าถึงการซื้อได้ง่ายมากขึ้นเมื่อนับรวมจำนวนยาบ้าและยาไอซ์ที่ถูกจับกุมแล้ว นับว่ามีปริมาณมากที่สุดในบรรดาประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งถือเป็นสถิติที่น่ากลัวและเป็นความท้าทายอย่างยิ่งต่อหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนในการร่วมมือกันปราบปรามปัญหายาเสพติด นอกจากนี้ ยังพบว่าการใช้ยาเสพติดอย่างต่อเนื่องมีแนวโน้มก่อให้เกิดภาวะ “สมองติดยา” หรือ ภาวะผิดปกติ ทางสมองที่ส่งผลให้สมองส่วนอยาก มีอำนาจเหนือสมองส่วนคิด กล่าวคือ เมื่อสมองออกฤทธิ์ให้ผู้เสพรู้สึกมีความสุขจากการใช้ยาเสพติด จนเกิดความเคยชิน ที่ทำให้ผู้เสพรู้สึกว่าร่างกายต้องพึ่งยา เมื่อไหร่ที่ต้องการยา ก็จะหมกหมุ่นกับการหายามาเสพ ยิ่งสมองส่วนอยากถูกกระตุ้นมากขึ้นเท่าไหร่ สมองส่วนคิดจะทำงานแย่ลง ขาดการไตร่ตรอง ยับยั้งชั่งใจจนนำไปสู่พฤติกรรมความรุนแรงที่ตามมานั่นเองเมื่อสมองที่ควบคุมการทำงานของระบบต่างๆในร่างกายมีการทำงานผิดปกติ ร่างกายก็จะเกิดอาการผิดปกติตามไปด้วย การทำงานของระบบภูมิคุ้มกันเสียหาย ทำลายระบบเลือด ทำลายปอดและสมรรถภาพของผู้เสพ ถึงชีวิต ในส่วนของจังหวัดปัตตานีได้ดำเนินงานตามที่รัฐบาลได้กำหนดให้มีแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ โดยให้ภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่ ประสานการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยกองทุนแม่ของแผ่นดิน ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่หมู่บ้าน/ชุมชน ที่ยังไม่ได้ดำเนินการ ภายในปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๖๗โดยการบูรณาการความร่วมมือของประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน ทุกภาคส่วน ปฏิบัติให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม นำไปสู่การสร้างกลไกการบริหารจัดการ เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการจัดตั้งหมู่บ้านป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ทุกหมู่บ้าน/ชุมชน โดยใช้กระบวนการ๑๐ ขั้นตอนเพื่อการจัดตั้งกองทุนแก้ไขปัญหายาเสพติดให้บรรลุผลสำเร็จถึงขั้นที่ ๖ ซึ่งจังหวัดปัตตานีมีหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน ปี ๒๕๔๗ - ๒๕๖๖ จำนวน ๓๐๐ หมู่บ้านคงเหลือหมู่บ้านที่ยังไม่เป็นหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน จำนวน ๓๑๙ หมู่บ้าน โดยสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดปัตตานีได้ดำเนินการจัดตั้งหมู่บ้านป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ตามนโยบายของกระทรวงมหาดไทย ครบทุกหมู่บ้านเป็นที่เรียบร้อยแล้วด้านนายไชยพร นิยมแก้ว รองผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี กล่าวเสริมต่ออีกว่า การบูรณาการ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในด้านการป้องกันปราบปรามและแก้ไขปัญหายาเสพติด ทำให้ผู้เสพ/ผู้ติด ลดจำนวนลง และส่งเสริมให้เกิดศูนย์ฟื้นฟูสภาพทางสังคมเพิ่มขึ้น ผู้นำในพื้นที่หมู่บ้าน/ชุมชน/คณะกรรมการหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดินและชุดปฏิบัติการในการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชนจังหวัดปัตตานี จะมีความเข้าใจ และจะสามารถพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน โดยการบูรณาการความร่วมมือของประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน ทุกภาคีเครือข่ายได้อย่างเป็นรูปธรรม ถือเป็นมิติหนึ่งของการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยใช้ชุมชนเป็นศูนย์กลาง ปัญหายาเสพติดได้ทวีความรุนแรงและซับซ้อนมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชนซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญ ที่ตกเป็นเหยื่อของขบวนการค้ายาเสพติด ทั้งในรูปแบบของการใช้ การซื้อขาย และการชักชวนให้เข้าสู่วงจรของยาเสพติด โดยเฉพาะในพื้นที่ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีบริบททางสังคมและเศรษฐกิจที่มีความเสี่ยง อีกทั้งยังอยู่ในพื้นที่ชายแดนที่อาจมีช่องทางในการลักลอบจำหน่ายยาเสพติดได้ง่าย จะเห็นได้ว่ายาเสพติดได้ขยายตัวลุกลามเข้าไปทุกแห่งหนกระทั้งในรั้วโรงเรียนก็มีเพิ่มมากขึ้นทุกที เนื่องจากอยู่ในช่วงวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ อีกทั้งยังมีแนวโน้มที่จะได้รับอิทธิพลจากเพื่อนหรือสิ่งแวดล้อมรอบตัวได้ง่าย การสร้างภูมิคุ้มกันให้กับนักเรียนจึงเป็นเรื่องสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง โดยต้องส่งเสริมให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติที่ถูกต้อง รวมถึงทักษะในการปฏิเสธและการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ด้วยวัยที่มีความคึกคะนอง อยากลอง อยากประชดโดยเฉพาะผู้ที่เริ่มมีความทุกข์ทางใจ เหงาว้าเหว่อาจถูกชักจูงได้ง่าย ด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ในโลกใบนี้สิ่งที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและเป็นภัยร้ายกับสังคม เรายังหนีไม่พ้นกับเรื่องของยาเสพติด เป็นที่น่าหวั่นเกรงว่า หากไม่ดำเนินการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน อาจสายเกินไปสำหรับเด็กเยาวชนและกลายเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต ในปี 2566 ทุกภาคส่วนในตำบลตะลุโบะดำเนินโครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนหมู่ที่ 1บ้านแบรอ โดยมีผู้เข้ารับการบำบัดจำนวน 30 คน และมีการติดตามผลหลังการบำบัดในกลุ่มเครือข่ายจำนวน 20 คน โครงการดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ และดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การอบรมให้ความรู้แก่เยาวชนกลุ่มเสี่ยง การอบรมเครือข่าย อสม. และการประชุมติดตามผู้ผ่านการบำบัด นอกจากนี้ จังหวัดปัตตานีได้ดำเนินโครงการบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (CBTx) อย่างเป็นรูปธรรม ครอบคลุมทุกตำบลเป้าหมายในอำเภอเมืองปัตตานี รวมถึงตำบลตะลุโบะด้วย ทางโรงเรียนตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ มีนักเรียนตาดีกาจำนวน 100 คน อายุตั้งแต่ 6 – 12 ปี แบ่งเป็นเพศชายจำนวน30 คน และเพศหญิงจำนวน 70 คน ในพื้นที่ หมู่ 1 ตำบลตะลุโบะ ถือเป็นกลุ่มเปราะบางที่ควรได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดดังนั้น ทางโรงเรียนตาดีกานูรูลวะห์ดะห์เล็งเห็นถึงความสำคัญของป้องกันปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กตาดีกา จึงได้จัดทำโครงการเด็กตาดีกานูรูลวะห์ดะห์ห่างไกลยาเสพติด ประจำปี 2568 เพื่อให้เด็กได้มีทักษะการประเมินพื้นที่เสี่ยง การปฏิเสธยาเสพติดและการเข้าใจถึงอันตรายของยาเสพติด

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อส่งเสริมให้ครูและเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครูและเด็กความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 80.00
  • 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะในการประเมินพื้นที่เสี่ยง
    ตัวชี้วัด : เด็ก ร้อยละ 80 มีทักษะความรู้ในการประเมินพื้นที่เสี่ยง
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 80.00
  • 3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะการปฏิเสธยาเสพติด
    ตัวชี้วัด : เด็ก ร้อยละ 80 มีทักษะความรู้ในการปฏิเสธยาเสพติด
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 80.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. .กิจกรรม ประชุมคณะทำงาน
    รายละเอียด

    ค่าอาหารว่าง  35 บาท x
    10 คน  x 1 มื้อ =  350 บาท

    งบประมาณ 350.00 บาท
  • 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้สร้างความเข้าใจเรื่องอันตรายจากยาเสพติด
    รายละเอียด

    ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ 1 x 3 เมตร=900 บาท

    ค่าวิทยากร ชั่วโมงละ600 บาท x6 ชั่วโมง =3,600 บาท

    ค่าอาหารว่าง 35 บาท x 100 คนx 2 มื้อ =7,000 บ.

    ค่าวัสดุอุปกรณ์ =1,500 บ.

    งบประมาณ 13,000.00 บาท
  • 3. กิจกรรมสำรวจและรณรงค์ห่างไกลยาเสพติด
    รายละเอียด

    ค่าวิทยากรกลุ่มคนละ 200 บาท x  3 ชั่วโมง X 3 คน=  1,800 บาท

    ค่าอาหารว่าง 35 บาท x 100 คน  x 1 มื้อ =  3,500 บาท

    ค่าวัสดุอุปกรณ์ =  1,350 บาท

    งบประมาณ 6,650.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงเรียนตาดีกานูรูลวะห์ดะห์

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 20,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ครูและเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด
  2. ส่งเสริมให้เด็กมีทักษะในการประเมินพื้นที่เสี่ยง
  3. ส่งเสริมให้เด็กมีทักษะการปฏิเสธยาเสพติด
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ รหัส กปท. L3011

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ รหัส กปท. L3011

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 20,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................