กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ"วันพุธหยุดยุงลาย" ประจําปี2560
รหัสโครงการ 010260
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขฯ อบต.บาราเฮาะ
วันที่อนุมัติ 22 มิถุนายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 22 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 42,360.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาราเฮาะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.829,101.267place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกถือเป็นปัญหาสาธารณสุขปัญหาหนึ่ง ความรุนแรงของโรคสามารถทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตได้ แม้มีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ร่วมกันป้องกัน ควบคุมไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคอยู่เป็นประจำแต่ก็ไม่สามารถทำให้โรคนี้หมดไปได้ การกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยยับยั้งการเกิดโรค ตามพระราชบัญญัติ องค์การบริหารส่วนตำบลบาราเฮาะ มีหน้าที่ให้การป้องกนและระวังโรคติดต่อให้แก่พี่น้องประชาชน และได้ตระหนักถึงความสำคัญของเรื่องนี้ จึงได้จัดทำโครงการพ่นหมอกควันครอบคลุมพื้นที่ที่ดูแลในเขตรับผิดชอบเพื่อเป็นการกำจัดยุงลายไม่ให้แพร่เชื้อขยายพันธุ์ต่อไปได้อีก ซึ่งเป็นวิธีการยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้อีกทางหนึ่ง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ศึกษาและหาข้อมูลในการจัดโครงการ
  2. จัดโครงการ/เสนอของบประมาณ
  3. ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง
  4. ดำเนินการตามโครงการ
  5. ประเมินผลโครงการ/สรุปโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สามารถกำจัดยุงลายไม่ให้แพร่เชื้อหรือทำการขยายพันธุ์ต่อไปได้อีก
  2. สามารถหยุดไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  3. สามารถทำให้ประชาชนได้ตื่นตัวตระหนักถึงอันตรายจากโรคไข้เลือดออก
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ