กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายลดเสี่ยงโรคเรื้อรัง
รหัสโครงการ 64-L5195-2-09
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมคนรักสุขภาพบ้านนาปรัง ตำบลคลองกวาง
วันที่อนุมัติ 2 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 28,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางไพลิน แก้วประดับรัฐ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองกวาง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.636,100.61place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ชมรมคนรักสุขภาพบ้านาปรังประชุมวางแผนเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนออกกำลังกาย โดยจัดให้มีการอบรมเรื่องออกกำลังกายในภาพรวม และต่อด้วยการเต้นบาสโลป และตาราง 9 ช่อง รับสมัครอาสาสมัครแกนนำ 8-9 คน ให้ทำหน้าที่กระตุ้น/ชักจูงและติดตามประชาชนในชุมชนให้ออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลป และตาราง 9 ช่อง เป็นกลุ่มๆ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาที และเพิ่มเป็นสัปดาห์ละ 5 วันหรือมากกว่า อย่างน้อย 8 เดือน
  2. ประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนทราบผ่านหอกระจายข่าว อสม. ผู้นำชุมชน
  3. ประชุมชี้แจงโครงการในการประชุมประจำเดือน และรับสมัครแกนนำเพื่อทำหน้าที่กระตุ้น/ชักจูงและติดตามประชาชนให้ออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค บาสโลป และตาราง 9 ช่อง บริเวณที่อยู่อาศัย หรือชุมชน
  4. จัดกิจกรรมให้ความรู้ประชาชนกับการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค บาสโลป และตาราง 9 ช่อง โดยวิทยากร
  5. อาสาสมัครแกนนำ นัดหมาย กระตุ้น/ชักจูง และติดตามประชาชนให้ออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค บาสโลป และตาราง 9 ช่อง ย่านที่อยู่อาศัยเป็นกลุ่มหรือเดี่ยว ตามอัธยาศัยของแต่ละบุคคล จากสัปดาห์ 1-3 วัน วันละ 15-30 นาที เพิ่มเป็นสัปดาห์ละ 5 วันหรือมากกว่า ภายใน 3-4 เดือนและคงต่อเนื่อง อย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 5 วันหรือมากกว่า ในเดือนที่ 5 และ 6 และต่อเนื่องไป
  6. อาสาสมัครแกนนำจดบันทึกจำนวนประชาชนที่ออกกำลังกายวิธีใดวิธีหนึ่งทุกวัน
  7. แลกเปลี่ยนประสบการณ์การออกกำลังกายกับวิทยากรในการประชุมประจำเดือน
  8. สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ ส่งให้กองทุนฯ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 มี.ค. 2564 10:43 น.