กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค ลดภาวะ แทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ”
ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายมะยือรี หะแว




ชื่อโครงการ โครงการอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค ลดภาวะ แทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4120-01-13 เลขที่ข้อตกลง 17/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค ลดภาวะ แทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค ลดภาวะ แทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค ลดภาวะ แทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4120-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปีงบประมาณ 2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซาไก มีประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไป จำนวน 951 คน จากการดำเนินงานคัดกรองโรค โรคความดันโลหิตสูง/โรคเบาหวาน ในเขตบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซาไก ประจำปีงบประมาณ 2564 จำนวน ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงจำนวน 769 ราย (เป้าหมาย 790 ราย) คิดเป็นร้อยละ 97.34 จำนวน ได้รับการคัดกรองเบาหวานจำนวน 878 ราย (เป้าหมาย 899 ราย) คิดเป็นร้อยละ97.66 พบกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 52 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.76 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.23 สงสัยป่วย โรคความดันโลหิตสูงจำนวน 19 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.47 กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงคิดเป็นร้อยละ สงสัยป่วย จำนวน 15 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.47 เป็นกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายเก่า 171 ราย และโรคเบาหวานรายเก่าจำนวน 52 ราย มีภาวะแทรกซ้อนจาโรคความดันโลหิตสูง 3 ราย และจากโรคเบาหวาน 1 ราย ซึ่ง ปัจจัยหนึ่งที่เราค้นพบคือ การคัดกรองที่ล่าช้าทำให้แก้ไขปัญหาช้า คุณภาพของการคัดกรอง อุปกรณ์ไม่เพียงพอและไม่ได้มาตรฐาน กลุ่มเสี่ยงการดำเนินชีวิตแบบเดิมๆ ไ่มีการปรับเปรี่ยบพฤติกรรมเนื่องจากไม่มีความรูหรือไม่ตระหนักต่อโรคที่จะเกิดภายภาคหน้า หรือกลุ่มที่ป่วยที่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการดูแลตนเองไม่ถูกต้อง ใช้ชีวิตแบบเดิมๆ ขาดยา ส่งผลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น ทำให้กลุ่มเสี่ยงกลายเป็นผู้ป่วย คนป่วยต้องเพิ่มโรค ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซาไก ได้เล็งเห็นความสำคัญในการอบรมเพื่อเป็นเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อให้ความรู้บนพื้นฐานบริบทพื้นที่การดูแลแบบเพื่อนช่วยเพื่อน การรู้จักตนเองตามสถานะโรคที่เป็นที่ได้มาตรฐานและการดูแลสุขภาพตนเอง ที่ต่อเนื่องเพื่อสุขภาพที่ดี ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.ประชากรกลุ่ม ป่วย สงสัยป่วย ได้รับการให้ความรู้และได้รับปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้สู่การเรื่องโรค โรคเรื้อรัง และเวทีแลกเปลี่่ยนเรียนรู้ร่วมกัน จำนวน 80 คน (เน้นกลุ่มเสี่ยง เสี่ยงป่วย และป่วยที่ สามารถมาเป็นไมเดลได้) และ กิจกรรมเยี่ยมบ้านประเมินพฤติกรรมในกลุ่มที่ผ่านการอบรมโดยทีม จนท.และอสม. ครั้งที่ 1 และครั้ง 2 จ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ประชากรกลุ่มเสี่ยง สงสัยป่วย และป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  • ชุมชนมีอุปกรณ์และเครื่องมือในการประเมินโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.ประชากรกลุ่ม ป่วย สงสัยป่วย ได้รับการให้ความรู้และได้รับปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่ม ป่วย สงสัยป่วย ได้รับการให้ความรู้และได้รับปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 60
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.ประชากรกลุ่ม ป่วย สงสัยป่วย ได้รับการให้ความรู้และได้รับปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้สู่การเรื่องโรค โรคเรื้อรัง และเวทีแลกเปลี่่ยนเรียนรู้ร่วมกัน จำนวน 80 คน (เน้นกลุ่มเสี่ยง เสี่ยงป่วย และป่วยที่ สามารถมาเป็นไมเดลได้) และ กิจกรรมเยี่ยมบ้านประเมินพฤติกรรมในกลุ่มที่ผ่านการอบรมโดยทีม จนท.และอสม. ครั้งที่ 1 และครั้ง 2 จ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค ลดภาวะ แทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4120-01-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมะยือรี หะแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด