กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการลีฟคลีนบ้านแหรฆ่าเชื้อโควิด-19
รหัสโครงการ 64-L4120-05-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มอาสาควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงตำบลบ้านแหร
วันที่อนุมัติ 11 มิถุนายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2564 - 31 กรกฎาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 18,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายแวยูโซะ แปเฮาะอีเล
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวฟาตีมะห์ ปูเต๊ะ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.105,101.204place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 14 มิ.ย. 2564 25 มิ.ย. 2564 18,000.00
รวมงบประมาณ 18,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด-19 ระลอกใหม่ในช่วงเดือนพฤษภาคม ในพื้นที่ตำบลบ้านแหร มีอัตราการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วและในวงกว้าง ส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่ติดเชื้อโควิด-19 เป็นจำนวนมาก ทำให้การจะรับรักษาพยาบาลมาคนไข้เหล่านี้ในโรงพยาบาลคงไม่สามารถทำได้ ตลอดจนอาการป่วยโควิดก็มีระดับความรุนแรง น้อยและมาก โรงพยาบาลต้องใช้ในการดูแลผู้ป่วยอาการหนักเท่านั้นและมีความจำเป็น ทางองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแหจึงจำเป็นต้องสร้างสถานที่กักตัว(LQ) สำหรับผู้ที่ติดเชื้อโรควิด-19 ซึ่งจะกักตัวเฉพาะผู้รักษาตัวหายจากโรงพยาบาลสนามแล้ว อยู่ในช่วงสังเกตอาการ 14 วันหลังจากเชื้อตาย การดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคโควิด-19 ให้ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้น ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น กลุ่มอาสาควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงตำบลบ้านแหร ได้เล็งเห็นความสำคัญของพื้นที่ที่พบผู้ป่วยโรคโควิด-19 แล้วต้องมีการฆ่าเชื้อ การชะล้าง การทำความสะอาดที่พักอาศัยร่วมทั้งสถานที่กักตัว (LQ)ด้วย จึงได้จัดทำ “โครงการลีฟคลีนบ้านแหร ฆ่าเชื้อโควิด-19” เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อซ้ำอีกครั้ง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อดำเนินการพ่นน้ำยาฆ่าเชื้อ ให้มีความครอบคลุมและดำเนินการควบคุมได้อย่างทันท่วงที

พื้นที่ตำบลบ้านแหร

0.00
2 เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19

พื้นที่ตำบลบ้านแหร

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 200 18,000.00 1 18,560.00
1 มิ.ย. 64 ลงพื้นที่พ่นน้ำยาฆ่าเชื้อตามบ้านที่ได้รับแจ้งมา และจัดซื้อ/เตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการพ่น 200 18,000.00 18,560.00
  1. ประชุมคณะทำงานดำเนินงานโครงการ เพื่อวางแผนการดำเนินงาน   2. จัดทำและเสนอโครงการเพื่อให้คณะกรรมการกองทุนฯพิจารณาอนุมัติ   3. ดำเนินการตามแผน
    3.1 ลงพื้นที่พ่นน้ำยาฆ่าเชื้อตามบ้านที่ได้รับแจ้งมา 3.2 จัดซื้อ/เตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการพ่น
    1. ติดตาม สรุปและประเมินผลการดำเนินงานโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อัตราการเกิดโรคลดลง และสามารถควบคุมโรคได้ในเวลาอันสั้น
  2. สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 มิ.ย. 2564 11:05 น.