กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เสี่ยง ต่อภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปี 2560 ”

ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายหวันมูฮำมัดรุสดี เจะอาแว

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เสี่ยง ต่อภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L3011-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เสี่ยง ต่อภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เสี่ยง ต่อภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เสี่ยง ต่อภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3011-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วซึ่งมีผลกระทบมาจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกและการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ การแข่งขันทางการตลาดการสื่อสารและการคมนาคมรวมถึงการใช้เทคโนโลยีมากขึ้นซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนไทยเป็นอย่างมากจะเห็นได้จากในอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อแต่ในปัจจุบัน และในอนาคต ปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจากสังคมสิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมมากขึ้นตามลำดับจะเห็นได้จากพฤติกรรมที่เป็นปัญหาเช่น พฤติกรรมการบริโภคพฤติกรรมการออกกำลังกายพฤติกรรมความปลอดภัยการใช้ยาและสารเสพติด ปัญหาสุขภาพจิต และพฤติกรรมเสี่ยงจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม และการบริการดังนั้นการดำเนินการในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศจำเป็นจะต้องพัฒนาประชาชนให้มีองค์ความรู้ และทักษะที่จำเป็น และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ทั้งระดับบุคคลครอบครัวและชุมชนครอบคลุมกลุ่มประชากรเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจำเป็นจะต้องส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่สำคัญๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขของประเทศ นอกจากนี้ยังพบว่าประชากรไทยส่วนมากบริโภคผักและผลไม้ไม่เพียงพอจึงจำเป็นต้องดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทุกระดับรวมทั้งประชาชนอย่างจริงจังเพื่อให้ประชาชนมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอ สัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วัน ๆ ละอย่างน้อย 30นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อย ครึ่ง กิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่ง อย่างอื่นครึ่งหนึ่ง และลดอาหารไขมันซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง ได้ร้อยละ 20-30 และโรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจ และหลอดเลือดลงได้อย่างมาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะลุโบะได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงโรคอัมพฤกษ์อัมพาตโรคหลอดเลือดหัวใจรายใหม่และสืบเนื่องจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพได้มีโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ขึ้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะลุโบะ จึงได้ออกรณรงค์คัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงของประชากรในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะลุโบะ พบผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงทั้งสิ้น 667รายจึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น โดยเน้นที่กลุ่มประชากรที่เป็นกลุ่มเสี่ยงก่อน โดยการเน้นกิจกรรมที่เป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงและผู้เข้าร่วมการอบรมครั้งนี้ยังเป็นแกนนำในการรณรงค์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงโรคอัมพฤกษ์อัมพาตโรคหลอดเลือดหัวใจต่อไปในอนาคต หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแล้วมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม มีสุขภาพที่ดี สามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1เพื่อให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้และทักษะที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. คือ การออกกำลังกาย, อาหาร และอารมณ์
  2. 2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีผลตรวจสุขภาพ และผลตรวจทางห้องปฏิบัติการดีขึ้น
  3. 3 เพื่อส่งเสริมการป้องกันและควบคุมโรคสำหรับประชาชนกลุ่มเป้าหมายตามมาตรฐานงานโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีไทย) 6 องค์ประกอบ
  4. 4 เพื่อติดตามประเมินผลประชากรกลุ่มเป้าหมายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชากรกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ และ ทัศนคติที่เหมาะสม ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2.ส่งเสริมการบรรลุตามมาตรฐานงานโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีไทย) 6 องค์ประกอบ ของการป้องกันและควบคุมโรคสำหรับกลุ่มเป้าหมาย 3.กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน /ความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามประเมินผลเป็นระยะตามที่กำหนด


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดอบรมให้ความรู้ เรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง

    วันที่ 9 พฤศจิกายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  ประชากรกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ และ ทัศนคติที่เหมาะสม ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2.  ส่งเสริมการบรรลุตามมาตรฐานงานโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีไทย) 6 องค์ประกอบ ของการป้องกันและควบคุมโรคสำหรับกลุ่มเป้าหมาย 3.  กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน /ความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามประเมินผลเป็นระยะตามที่กำหนด

     

    100 100

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1เพื่อให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้และทักษะที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. คือ การออกกำลังกาย, อาหาร และอารมณ์
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายเกิดการเรียนรู้และทักษะที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. คือ การออกกำลังกาย, อาหาร และอารมณ์

     

    2 2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีผลตรวจสุขภาพ และผลตรวจทางห้องปฏิบัติการดีขึ้น
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของกลุ่มเสี่ยงมีผลตรวจสุขภาพ และผลตรวจทางห้องปฏิบัติการดีขึ้น

     

    3 3 เพื่อส่งเสริมการป้องกันและควบคุมโรคสำหรับประชาชนกลุ่มเป้าหมายตามมาตรฐานงานโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีไทย) 6 องค์ประกอบ
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90ของกลุ่มเป้าหมายมีป้องกันและควบคุมโรคสำหรับประชาชนกลุ่มเป้าหมายตามมาตรฐานงานโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีไทย) 6 องค์ประกอบ

     

    4 4 เพื่อติดตามประเมินผลประชากรกลุ่มเป้าหมายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีติดตามประเมินผลประชากรกลุ่มเป้าหมายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1เพื่อให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้และทักษะที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. คือ การออกกำลังกาย, อาหาร และอารมณ์ (2) 2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีผลตรวจสุขภาพ และผลตรวจทางห้องปฏิบัติการดีขึ้น (3) 3 เพื่อส่งเสริมการป้องกันและควบคุมโรคสำหรับประชาชนกลุ่มเป้าหมายตามมาตรฐานงานโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีไทย) 6 องค์ประกอบ (4) 4 เพื่อติดตามประเมินผลประชากรกลุ่มเป้าหมายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เสี่ยง ต่อภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปี 2560 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L3011-1-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายหวันมูฮำมัดรุสดี เจะอาแว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด