กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย


“ โครงการป้องกันกลุ่มเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) ”

ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
ชมรมรักสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันกลุ่มเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19)

ที่อยู่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 7/64

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันกลุ่มเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันกลุ่มเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันกลุ่มเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 74,875.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ในปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ 26 มีนาคม 2563 และตามมติคณะรัฐมนตรีได้ขยาย ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ออกไปถึง 30 กันยายน 2564 และในปี 256๔ เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2564 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่คำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)        ที่ 11/2564 เรื่อง พื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด พื้นที่ควบคุมสูงสุด และพื้นที่ควบคุม ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 โดยจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อ โควิด-19 ทวีความรุ่นแรงมากยิ่งขึ้นในหลายพื้นที่ของประเทศ ส่งผลให้ระบบสาธารณสุขที่ให้บริการรักษาเข้าสู่ภาวะวิกฤตในการให้การดูแลผู้ป่วย ทั้งขาดแคลนบุคลากร อุปกรณ์ที่จำเป็น และสถานที่ที่ให้การรักษามีอัตราครองเตียงสูงมากยิ่งขึ้น มีผลกระทบขยายวงกว้างไปยังทุกจังหวัดในประเทศ ซึ่งจังหวัดปัตตานีอยู่ในพื้นที่เสี่ยง อีกทั้งยังมีรายงานจำนวนผู้ติดเชื้อรายวันอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นเพื่อป้องกันการแพร่ระบาด เพิ่มประสิทธิภาพการการป้องกันไม่ให้เกิดผู้ติดเชื้อรายใหม่ ซึ่งมาจากการปฏิบัติตนไม่ถูกต้องของผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส รวมถึงประชาชนที่มีฐานะยากจน ต้อองออกไปทำงานนอกพื้นที่ตำบลดอนทราย เป็นผู้ที่ต้องเดินทางไปพื้นที่แพร่ระบาดเสี่ยงสูง หรือผู้มีโอกาสสัมผัสกับกลุ่มเสี่ยงสูง ตามนิยามผู้สัมผัสใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงต่อการรับเชื้อสูง ของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข จึงต้องกำหนดมาตรการควบคุมป้องกัน ตามหลัก New Normal และ DMHTT อย่างเข้มงวดเพียงพอต่อการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ
จากข้อมูลการแพร่ระบาดในปัจจุบัน ผู้ติดเชื้อโควิด 19 ของตำบลดอนทราย มีผู้กักตัวที่พักอาศัยของผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่แพร่ระบาดเสี่ยงสูง หรือผู้สัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วย ตามนิยามผู้สัมผัส  ใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงต่อการรับเชื้อสูงจำนวน 114 คน จำนวนกลุ่มเสี่ยง Home Quarantine จำนวน 22หลังคาเรือน (Local Quarantine) จำนวน ๑๑๔ ราย  และมีผู้ที่หายดีกลับบ้านได้แล้ว จำนวน22.คน ในจำนวนผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรน่า โควิด 19 ในจำนวนผู้ป่วยแยกเป็นผู้สูงอายุจำนวน 6 ราย ผู้พิการตาบอดจำนวน 1ราย และเป็นผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 1 ราย
ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (Covid-19) ให้ทันต่อสถานการณ์ ชมรมรักสุขภาพจึงได้จัดทำโครงการป้องกันกลุ่มเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) ขึ้น เพื่อป้องกันโรคในกลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่มีฐานะยากจนที่มีความจำเป็นต้องเดินทางเพื่อประกอบอาชีพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ป้องกันผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่มีฐานะยากจน ต่อการติดเชื้อโรคโควิด-19
  2. 2. เพื่อสร้างความตระหนักให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง และครอบครัวรวมถึงบุคคลในพื้นที่ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทัศนคติให้สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาด
  3. 3. สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลกันและกันในการป้องกันการระบาดของโรคโควิด19

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 6.1 กิจกรรม ประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการฯ ตัวแทนกลุ่ม
  2. 6.2 กิจกรรมสำรวจข้อมูลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส โดย ชมรมรักสุขภาพ
  3. 6.3 กิจกรรม แจกหน้ากากอนามัย และสเปรย์แอลกอฮอล์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 315
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 114
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 114
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดการป้องกันผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่มีฐานะยากจน ต่อการติดเชื้อโรคโควิด-19
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง และครอบครัวรวมถึงบุคคลในท้องถิ่นพื้นที่มีพฤติกรรมตามหลัก New Normal และ DMHTT สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดติดเชื้อโรคโควิด-19
  3. มีกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลกันและกันในการป้องกันการระบาดของโรคโควิด19

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ป้องกันผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่มีฐานะยากจน ต่อการติดเชื้อโรคโควิด-19
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อสร้างความตระหนักให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง และครอบครัวรวมถึงบุคคลในพื้นที่ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทัศนคติให้สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลกันและกันในการป้องกันการระบาดของโรคโควิด19
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 543
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 315
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 114
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 114
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ป้องกันผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และประชาชนที่มีฐานะยากจน ต่อการติดเชื้อโรคโควิด-19 (2) 2. เพื่อสร้างความตระหนักให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง และครอบครัวรวมถึงบุคคลในพื้นที่ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทัศนคติให้สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาด (3) 3. สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลกันและกันในการป้องกันการระบาดของโรคโควิด19

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 6.1 กิจกรรม ประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการฯ ตัวแทนกลุ่ม (2) 6.2 กิจกรรมสำรวจข้อมูลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส  โดย ชมรมรักสุขภาพ (3) 6.3 กิจกรรม แจกหน้ากากอนามัย และสเปรย์แอลกอฮอล์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันกลุ่มเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมรักสุขภาพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด