กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ


“ จัดตั้งศูนย์แยกกักโรคในชุมชน (Community Isolation) อำเภอรามัน ”

ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายรอซาลี ปัตยะบุตร

ชื่อโครงการ จัดตั้งศูนย์แยกกักโรคในชุมชน (Community Isolation) อำเภอรามัน

ที่อยู่ ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4152-1-16 เลขที่ข้อตกลง 01/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กันยายน 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"จัดตั้งศูนย์แยกกักโรคในชุมชน (Community Isolation) อำเภอรามัน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
จัดตั้งศูนย์แยกกักโรคในชุมชน (Community Isolation) อำเภอรามัน



บทคัดย่อ

โครงการ " จัดตั้งศูนย์แยกกักโรคในชุมชน (Community Isolation) อำเภอรามัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4152-1-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กันยายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์การแพร่ระบาดของการติดเชื้อโควิด – 19 ภายในประเทศไทยพบจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ 12,353 ราย ผู้ป่วยยืนยันสะสม จำนวน 1,532,775 ราย หายป่วยสะสม 1,395,481 ราย และเสียชีวิตสะสม 16,174 ราย ข้อมูล ณ วันที่ 26 กันยายน 2564 การระบาดระลอกใหม่นี้มีรายงานผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นอย่างมาก และพบผู้ป่วยในหลายพื้นที่ ตลอดจนมีรายงานการติดต่อระหว่างคนสู่คนภายในประเทศ จึงเป็นเหตุสำคัญให้องค์การอนามัยโลกได้ประกาศเป็นภาวะฉุกเฉินระดับโลก จากสถานการณ์การระบาดรอบใหม่ของประเทศ ทำให้ศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประกาศยกระดับตามที่ได้มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม 2563 และต่อมาได้ขยายเวลาบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไปอย่างต่อเนื่องเป็นระยะนั้น โดยที่สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ที่มีการกลายพันธุ์เป็นหลายสายพันธุ์ยังคงทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนเสี่ยงที่จะเกิดภาวะวิกฤตด้านสาธารณสุข โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ซึ่งจังหวัดยะลาเป็น 1 ใน เขตพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด รวมถึงอำเภอรามันที่ปรากฏว่ายังไม่อาจชะลออัตราการเพิ่มของจำนวนผู้ติดเชื้อและจำนวนผู้ป่วยที่ต้องเฝ้าระวังอาการ โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยงที่เป็นผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและกลุ่มผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีแนวโน้มต่อเนื่อง ซึ่งการระบาดในแต่ละวันมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้ยังมีผู้ป่วยตกค้างอยู่ในพื้นที่เป็นจำนวนมาก ถึงแม้ว่าทางอำเภอรามันได้เพิ่มจำนวนเตียงเพื่อรงรับผู้ป่วยให้มากที่สุดแล้วก็ตาม
ดังนั้น เพื่อไม่ให้มีการแพร่ระบาดในครอบครัวและในชุมชนเพิ่มมากขึ้น อำเภอรามัน จึงได้จัดทำโครงการจัดตั้งศูนย์แยกกักโรคในชุมชน (Community Isolation) อำเภอรามัน เพื่อให้ประชาชนในทุกพื้นที่อำเภอรามันที่เป็นผู้ติดเชื้อเข้าข่าย (probable case) และผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) ได้มีที่พักอาศัยระหว่างรอเตียงว่าง ลดความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 ในครอบครัวและชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 ในครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีระบบ
  2. เพื่อให้ประชาชนผู้ติดเชื้อเข้าข่าย (probable case) และผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) ได้รับการคัดแยกอาการและรักษาดูแลตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19
  3. เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ได้มีทรัพยากรงบประมาณเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างเป็นระบบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดตั้งศูนย์แยกกักโรคในชุมชน (Community Isolation) อำเภอรามัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,540
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 ส่งผลให้ไม่มีการระบาดในพื้นที่ 2.ประชาชนผู้ติดเชื้อเข้าข่าย (probable case) และผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) ได้มีที่พักได้รับการดูแลรักษาและคัดแยกอย่างถูกต้องเหมาะสมตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 ในพื้นที่
    1. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านป้องกัน และควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อย่างมีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 ในครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีระบบ
ตัวชี้วัด : มีการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 ในครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีระบบ
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนผู้ติดเชื้อเข้าข่าย (probable case) และผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) ได้รับการคัดแยกอาการและรักษาดูแลตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19
ตัวชี้วัด : มีสถานที่ให้ประชาชนผู้ติดเชื้อเข้าข่าย (probable case) และผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) ได้รับการคัดแยกอาการและรักษาดูแลตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19
0.00

 

3 เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ได้มีทรัพยากรงบประมาณเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด : มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ได้มีทรัพยากรงบประมาณเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างเป็นระบบ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1540
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,540
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 ในครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีระบบ (2) เพื่อให้ประชาชนผู้ติดเชื้อเข้าข่าย (probable case) และผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) ได้รับการคัดแยกอาการและรักษาดูแลตามแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาดและติดเชื้อโควิด-19 (3) เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ได้มีทรัพยากรงบประมาณเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างเป็นระบบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดตั้งศูนย์แยกกักโรคในชุมชน (Community Isolation) อำเภอรามัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


จัดตั้งศูนย์แยกกักโรคในชุมชน (Community Isolation) อำเภอรามัน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4152-1-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายรอซาลี ปัตยะบุตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด