โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิท-19 ตำบลสะเอะ
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิท-19 ตำบลสะเอะ |
รหัสโครงการ | 64-L4114-05-16 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | งานสาธารณสุข สำนักปลัด |
วันที่อนุมัติ | 23 กันยายน 2564 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 27 กันยายน 2564 - 30 กันยายน 2564 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2564 |
งบประมาณ | 11,200.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวรูไวดาร์ ราแดง |
พี่เลี้ยงโครงการ | มาเรียม |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 23 ก.ย. 2564 | 30 ก.ย. 2564 | 11,200.00 | |||
2 | 0.00 | |||||
รวมงบประมาณ | 11,200.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 2540 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ของ 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตรัง พัทลุง สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาสและสงขลา ที่ร้ายแรงไม่แพ้กรุงเทพฯและปริมณฑล กระทั่งรัฐบาลต้องประกาศมาตรการพิเศษเพื่อควบคุมการแพร่ระบาด ทำให้หน่วยงานที่รับผิดชอบพื้นที่เริ่มขยับทำโครงการจัดหาวัคซีนเอง เพื่อนำมาฉีดคนในพื้นที่ มาตรการสำคัญ คือ การเร่งฉีดวัคซีนโควิด-19 ให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ ติดเตียง ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ที่มีความเสี่ยงสูงในพื้นที่ ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลสะเอะ ร่วมกับรพ.สต.สะเอะ และรพ.กรงปินัง ได้จัดโครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก ระดับตำบล เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 ได้มากขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.ร้อยละ 70 ของประชาชนในตำบลสามารถเข้าถึงบริการวัคซีน 2. ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการรับวัคซีนและแนวทางการปฏิบัติก่อนและหลังรับวัคซีนป้องกันโรค โควิด-19 1.ร้อยละ 70 ของประชาชนในตำบลสามารถเข้าถึงบริการวัคซีน 2. ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการรับวัคซีนและแนวทางการปฏิบัติก่อนและหลังรับวัคซีนป้องกันโรค โควิด-19 |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 200 | 11,200.00 | 0 | 0.00 | 11,200.00 | |
23 - 30 ก.ย. 64 | บริการฉีดวัคซีนในกลุ่มประชาชน | 200 | 11,200.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 200 | 11,200.00 | 0 | 0.00 | 11,200.00 |
กิจกรรรมที่ 1 รณรงค์ประชาสัมพันธ์ฉีดวัคซีนโควิด-19 แก่ประชาชนในตำบลสะเอะ
1.1 ประชาชนที่ต้องการฉีดวัคซีนสามารถลงทะเบียนได้กับ อสม. กำนัน ผู้ใหญ่บ้านในพื้นที่ และหน่วยบริการสาธารณสุขใกล้บ้าน
1.2 ชี้แจงและสำรวจข้อมูลจากผู้นำท้องถิ่นทุกหมู่บ้าน เพื่อกำหนดจุดติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ สำรวจจำนวนครัวเรือนในพื้นที่และกำหนดเส้นทางกระจ่ายเสียงด้วยรถประชาสัมพันธ์
1.3 ดำเนินการติดตั้งป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ ตามจุดที่กำหนดในพื้นที่ตำบลสะเอะ
1.4 ดำเนินการรถแห่ประชาสัมพันธ์ในพื้นที่ ตามเส้นทางที่กำหนด
1.5 ดำเนินการเคาะประตูบ้านโดยเจ้าหน้าที่ อสม. ตามหมู่บ้าน
กิจกรรมที่ 2 การจัดบริการฉีดวัคซีน โควิด-19 เชิงรุก ประสานงานร่วมกับเจ้าหน้าโรงพยาบาลกรงปินัง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดูซงกูจิ โดยจัดบริการฉีดวัคซีนในหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 1 วัน
กิจกรรมที่ 3 ติดตาม ประเมินผล สรุปผลการดำเนินโครงการ
*หมายเหตุ องค์การบริหารส่วนตำบลสะเอะ บูรณาการร่วมกับเครือข่ายสุขภาพอำเภอกรงปินัง กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมโรงพยาบาลกรงปินัง และรพ.สต.สะเอะ
1.ประชาชนในตำบลสามารถเข้าถึงหรือรับบริการวัคซีนเชิงรุกได้ ร้อยละ 70 ขึ้นไป 2.ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการรับวัคซีนและแนวทางการปฏิบัติก่อนและหลังรับวัคซีนป้องกันโรค โควิด-19 3.ประชาชนตระหนักและเห็นความสำคัญของการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 และเกิดภูมิคุ้มกันหมู่ในพื้นที่
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 ก.ย. 2564 12:22 น.