กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ


“ โครงการสร้างเด็กและเยาวชนปลูกจิตสำนึกรักโลก รักสิ่งแวดล้อมประจำปี2560 ”

ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซัยนับ กาเกาะ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเด็กและเยาวชนปลูกจิตสำนึกรักโลก รักสิ่งแวดล้อมประจำปี2560

ที่อยู่ ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L3011-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเด็กและเยาวชนปลูกจิตสำนึกรักโลก รักสิ่งแวดล้อมประจำปี2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเด็กและเยาวชนปลูกจิตสำนึกรักโลก รักสิ่งแวดล้อมประจำปี2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเด็กและเยาวชนปลูกจิตสำนึกรักโลก รักสิ่งแวดล้อมประจำปี2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3011-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การจัดการและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่ดี เป็นปัจจัยสำคัญที่สามารถป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ โดยเฉพาะสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของบุคคลต้องสะอาด ถูกสุขลักษณะ ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย ซึ่งเป็นสิ่งที่ประชาชนในทุกหมู่บ้าน/ทุกชุมชนปฏิบัติได้ในชีวิตประจำวันของแต่ละหลังคาเรือน หากชุมชนมีการรักษาความสะอาดของที่พักอาศัยให้ได้มาตรฐานเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง จะสามารถป้องกันโรคไข้เลือดออกที่อาจเกิดขึ้นในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ประชาชนในชุมชนนั้นๆมีสุขภาพที่แข็งแรง ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและสามารถป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อได้ ซึ่งการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกจะได้ผลที่ดีจะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกคน ทุกหลังคาเรือน และทุกภาคส่วนจึงจะได้ผลลัพธ์ที่ดีอย่างยั่งยืน พื้นที่ตำบลตะลุโบะ เป็นชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบท ประสบปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมพอสมควร อันเนื่องจากประชาชนไม่ตระหนักในการจัดสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้ถูกสุขลักษณะ การจัดการขยะมูลฝอยไม่ถูกต้อง ก่อให้เกิดขยะไปอุดตันทางระบายน้ำ เกิดน้ำท่วมขัง ทำให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรคได้ พื้นที่ตำบลตะลุโบะเป็นพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่อง โดยมีอัตราป่วยในปี ๒๕๕7 พบผู้ป่วยจำนวน 15ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 187.31ต่อแสนประชากรในปี ๒๕๕๘ พบผู้ป่วยจำนวน ๔ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ ๔๙.๙๕ต่อแสนประชากรในปี ๒๕๕๙ พบผู้ป่วยจำนวน๒๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ ๒๖๒.๒๔ ต่อแสนประชากร จะเห็นได้ว่า การระบาดของโรคไข้เลือดออกนั้น มีการระบาดเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเจน จากสภาพการณ์ดังกล่าวจะเห็นได้ว่าหากประชาชนยังไม่ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว ในด้านความสะอาด ด้านการควบคุมโรคติดต่อในชุมชน และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่ดีทั้งที่บ้านและชุมชน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกคงไม่มีวันสิ้นสุด และอาจรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้
ดังนั้น ชมรมรักสุขภาพตำบลตะลุโบะได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้จักทำโครงการนี้ขึ้นมาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดอัตราการป่วยและตายด้วยไข้เลือดออก และป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชนด้วย โดยกระตุ้นให้ประชาชน เด็กและเยาวชน มีการปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ร่วมกันจัดเก็บและกำจัดขยะให้ถูกต้อง รณรงค์สำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งกระบวนการดังกล่าวทำให้เห็นคุณค่า เกิดความตระหนักและเข้าใจถึงการอยู่ร่วมกันของชุมชน เกิดความรัก ความสามัคคีในชุมชน และเกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติและพฤติกรรมที่ดีในการรักษ์สิ่งแวดล้อมร่วมกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
  2. 2. เพื่อลดอัตราป่วยจากโรคไข้เลือดออกในชุมชน
  3. 3 เพื่อสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแก่เด็กและเยาวชน
  4. 4 เพื่อให้เยาวชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและรักสิ่งแวดล้อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออก การจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมที่ดี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.แกนนำ/เด็กและเยาวชน มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2.แกนนำ/เด็กและเยาวชน ตระหนักตื่นตัวถึงปัญหาที่มาจากมลพิษของขยะ 3.แกนนำ/เด็กและเยาวชน มีการอนุรักษ์และหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4.แกนนำ/เด็กและเยาวชน สามารถสืบทอดการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้แก่เด็กและเยาวชนรุ่งหลังได้อีกตลอดไป 5.แกนนำ/เด็กและเยาวชน จะได้เป็นแกนนำที่ดีเพื่อชุมชนสะอาดและน่าอยู่ตลอดไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออก การจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมที่ดี

วันที่ 4 พฤศจิกายน 2560 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑.  แกนนำ/เด็กและเยาวชน มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๒.  แกนนำ/เด็กและเยาวชน ตระหนักตื่นตัวถึงปัญหาที่มาจากมลพิษของขยะ ๓.  แกนนำ/เด็กและเยาวชน มีการอนุรักษ์และหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๔.  แกนนำ/เด็กและเยาวชน สามารถสืบทอดการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้แก่เด็กและเยาวชนรุ่งหลังได้อีกตลอดไป ๕.  แกนนำ/เด็กและเยาวชน จะได้เป็นแกนนำที่ดีเพื่อชุมชนสะอาดและน่าอยู่ตลอดไป

 

50 50

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายสามารถลดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย

 

2 2. เพื่อลดอัตราป่วยจากโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ90ของกลุ่มเป้าหมายสามารถลดอัตราป่วยจากโรคไข้เลือดออกในชุมชน

 

3 3 เพื่อสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแก่เด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 95ของกลุ่มเป้าหมายสามารถสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแก่เด็กและเยาวชน

 

4 4 เพื่อให้เยาวชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและรักสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและรักสิ่งแวดล้อม

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน (2) 2. เพื่อลดอัตราป่วยจากโรคไข้เลือดออกในชุมชน (3) 3 เพื่อสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแก่เด็กและเยาวชน (4) 4 เพื่อให้เยาวชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและรักสิ่งแวดล้อม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออก การจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมที่ดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเด็กและเยาวชนปลูกจิตสำนึกรักโลก รักสิ่งแวดล้อมประจำปี2560 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L3011-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซัยนับ กาเกาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด