กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง


“ โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงติดในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) เทศบาลเมืองเบตง ”

ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสมศักดิ์ เหมรา

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงติดในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) เทศบาลเมืองเบตง

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2565 - L7161 - 5 - 1 เลขที่ข้อตกลง 1/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 พฤศจิกายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงติดในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) เทศบาลเมืองเบตง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงติดในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) เทศบาลเมืองเบตง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงติดในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) เทศบาลเมืองเบตง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2565 - L7161 - 5 - 1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 พฤศจิกายน 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 372,895.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ในปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ 26 มีนาคม 2563 และตามมติคณะรัฐมนตรีได้ขยาย ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ออกไปถึง 30 กันยายน 2564 และในปี2564 เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2564 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่คำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่ 11/2564 เรื่อง พื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด พื้นที่ควบคุมสูงสุด และพื้นที่ควบคุม ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ประกาศระบุว่า ตามที่ได้มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไปเป็นคราวที่ 13 จนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2564 นั้น สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ทวีความรุ่นแรงมากยิ่งขึ้นในหลายพื้นที่ของประเทศโดยเฉพาะในกรุงเทพฯและปริมณฑล รวมถึง 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้ถูกกำหนดให้เป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ซึ่งขณะนี้มีพื้นที่จังหวัดที่ประกาศเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดถึง 29 จังหวัด เนื่องจากมีการติดเชื้อแบบกลุ่มใหม่ๆในการระบาดเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องส่งผลให้ระบบสาธารณสุขที่ให้บริการรักษาเข้าสู่ภาวะวิกฤตในการให้การดูแลผู้ป่วย ทั้งขาดแคลนอุปกรณ์ที่จำเป็นบุคลากรและสถานที่ที่ให้การรักษามีอัตราครองเตียงสูงมากยิ่งขึ้น มีผลกระทบขยายวงกว้างไปยังทุกจังหวัดในประเทศ ซึ่งจังหวัดยะลาอยู่ในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดด้วย อีกทั้งยังมีรายงานจำนวนผู้ติดเชื้อรายวันอย่างต่อเนื่อง


ดังนั้นเพื่อเป็นการร่วมมือหยุดการแพร่ระบาด เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาเชิงรุกและการป้องกันไม่ให้เกิดผู้ติดเชื้อรายใหม่ ซึ่งมาจากการปฏิบัติตนไม่ถูกต้องของบุคคลทั่วไปและผู้ที่มีสุขภาพอ่อนแอ โดยมีภาวะโรคประจำตัวที่มีความเสี่ยงสูงใน 7 กลุ่มโรค เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง และโรคทางเดินหายใจ กลุ่มผู้สูงอายุ เด็ก หญิงตั้งครรภ์และผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่แพร่ระบาดเสี่ยงสูง หรือผู้สัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วย ตามนิยามผู้สัมผัสใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงต่อการรับเชื้อสูง ของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขจึงต้องกำหนดมาตรการควบคุมป้องกัน ตามหลัก New Normal และ DMHTT อย่างเข้มงวดเพียงพอต่อการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพทั้งนี้จากข้อมูลการแพร่ระบาดในปัจจุบัน ผู้ติดเชื้อโควิด19 ของตำบลเบตง มีผู้ติดเชื้อจำนวน 1,311 คน ซึ่ง มีมาตรการกักตัวเพื่อเฝ้าระวังในสถานที่กลางที่จัดตั้งขึ้น (Local Quarantine) จำนวน 58 คนกักตัวที่พักอาศัยของผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่แพร่ระบาดเสี่ยงสูง หรือผู้สัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วย ตามนิยามผู้สัมผัสใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงต่อการรับเชื้อสูง ซึ่งมีการคัดกรองโดยทีมสอบสวนโรค Home Quarantine จำนวน 361คน (ข้อมูล จาก ศปก.อำเภอเบตง ) ซึ่งขณะนี้มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เทศบาลเมืองเบตง ได้มีความร่วมมือกับหน่วยบริการในพื้นที่โดยมีความพร้อมในการจัดตั้งศูนย์พักคอย Community Isolation (CI) จำนวน 100 เตียง และ Home Isolation (HI) เพื่อรองรับกับผู้ป่วยอาการไม่รุนแรง รวมถึงประสานการส่งต่อการตรวจยืนยัน RT-PCR กรณีที่มีการตรวจคัดกรองขั้นต้นด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ให้ผลเป็นบวก ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาและรักษาผู้ป่วยได้อย่างคลอบคลุมมากยิ่งขึ้น ซึ่งการใช้ ATK ในการคัดกรองเป็นที่ยอมรับว่าให้ผลดีและรวดเร็ว โดยดำเนินการตามมาตรฐานของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักในการกำหนดแนวทางในการตรวจและควบคุมโรคนี้ ในการนี้รัฐบาลได้อนุมัติงบประมาณให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาและองค์การเภสัชกรรมร่วมกันจัดหาชุด ATK เพื่อให้หน่วยงานสาธารณสุขนำไปให้ประชาชนในการตรวจคัดกรองตนเองและตรวจเชิงรุกเพิ่มมากยิ่งขึ้น แต่ยังอยู่ในช่วงการจัดหาและจัดระบบการกระจายซึ่งคาดว่าจะใช้ระยะเวลาอีกพอสมควร ซึ่งอาจไม่ทันต่อการระงับยับยั้งตามสถานการณ์ปัจจุบันในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ดังนั้นเพื่อเป็นการดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (Covid-19) ให้ทันต่อสถานการณ์ ตามบทบาทหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่ในการป้องกันและควบคุมและระงับโรคติดต่อ ประกอบกับหนังสือซักซ้อมแนวทางการดำเนินการและการใช้จ่ายงบประมาณในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19)ที่ มท.0808.2 /ว4116 ลงวันที่ 19 กรกฎาคม 2564 เทศบาลเมืองเบตง ต.เบตง อ.เบตง จ.ยะลา จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชนประชาชนกลุ่มผู้สัมผัสเสี่ยงสูงในชุมชน/ผู้ประกอบการค้าในตลาดสด/ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอย/นักเรียน ครู บุคลากรสถานศึกษา ในเขตเทศบาลเมืองเบตง
  2. ข้อที่ 2. เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจาก โควิด-19

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมสมาชิก (ทีมงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง) จนท.หน่วยบริการ อสม. และแกนนำชุมชน เพื่ออบรมชี้แจงกระบวนการและมาตรการป้องกันโรคโควิด19 นำไปดำเนินการตามโครงการ
  2. กิจกรรมที่ 2 คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่
  3. กิจกรรมที่ 3 ประเมินผล/สรุปผลการดำเนินงานโครงการ
  4. กิจกรรมที่ 1 ประชุมสมาชิก (ทีมงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง) จนท.หน่วยบริการ อสม. และแกนนำชุมชน เพื่ออบรมชี้แจงกระบวนการและมาตรการป้องกันโรคโควิด19 นำไปดำเนินการตามโครงการ
  5. คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่
  6. คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่
  7. คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่
  8. คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่
  9. คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่
  10. คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่
  11. คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่
  12. คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่
  13. ประเมินผล/สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง ได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ได้รับความรู้ด้านระบาดของโรคติดเชื้อ  โควิด-19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนําโรคระบาด ในชุมชน

  2. ชุมชนปลอดโรค ไม่มีการระบาดเพิ่มในพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมสมาชิก (ทีมงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง) จนท.หน่วยบริการ อสม. และแกนนำชุมชน เพื่ออบรมชี้แจงกระบวนการและมาตรการป้องกันโรคโควิด19 นำไปดำเนินการตามโครงการ

วันที่ 14 ธันวาคม 2564 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมสมาชิก (ทีมงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง) จนท.หน่วยบริการ อสม. และแกนนำชุมชน เพื่ออบรมชี้แจงกระบวนการและมาตรการป้องกันโรคโควิด19 นำไปดำเนินการตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมที่ 1 ประชุมสมาชิก (ทีมงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง) จนท.หน่วยบริการ อสม. และแกนนำชุมชนเพื่ออบรมชี้แจงกระบวนการและมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 โดยจัดอบรมในระหว่างวันที่ 14 – 16 ธันวาคม 2564 ณ ห้องประชุมศูนย์บริการสาธารณสุข (กาแป๊ะ กม.3) เทศบาลเมืองเบตง มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 111 คน ผู้เข้าร่วมอบรมมีความพึงพอใจภาพรวม ร้อยละ 91.34

 

105 0

2. คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

วันที่ 28 ธันวาคม 2564 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คัดกรองผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอย จำนวน 66 คน  (ผล Negative จำนวน  66 คน)

 

66 0

3. คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

วันที่ 7 มกราคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจคัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนกลุ่มผู้สัมผัสเสี่ยงสูงในชุมชน/ผู้ประกอบการค้าในตลาดสด  จำนวน 134 คน  (ผล Negative จำนวน  133  คน ,      ผล Positive จำนวน 1 คน)

 

134 0

4. คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจคัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ครู บุคลากรสถานศึกษาในเขตเทศบาลเมืองเบตง จำนวน 31 คน  (ผล Negative จำนวน  31 คน)

 

31 0

5. คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

วันที่ 4 มีนาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนกลุ่มผู้สัมผัสเสี่ยงสูงในชุมชน  จำนวน 16 คน  (ผล Negative จำนวน  14  คน , ผล Positive จำนวน 2 คน)

 

16 0

6. คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

วันที่ 19 เมษายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนกลุ่มผู้สัมผัสเสี่ยงสูงในชุมชน  จำนวน 25 คน  (ผล Negative จำนวน  25  คน)

 

25 0

7. คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

วันที่ 21 เมษายน 2565 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนกลุ่มผู้สัมผัสเสี่ยงสูงในชุมชน  จำนวน 24 คน  (ผล Negative จำนวน  24  คน)

 

24 0

8. คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

วันที่ 14 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ครู บุคลากรสถานศึกษาในเขตเทศบาลเมืองเบตง    จำนวน 85 คน  (ผล Negative จำนวน  85  คน)

 

85 0

9. คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

วันที่ 19 สิงหาคม 2565 เวลา 18:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ ผู้สูงอายุ ประชาชนกลุ่มผู้สัมผัสเสี่ยงสูงในชุมชน  จำนวน 79 คน  (ผล Negative จำนวน  65 คน , ผล Positive จำนวน 14 คน)

 

79 0

10. ประเมินผล/สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 1 ประชุมสมาชิก (ทีมงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง) จนท.หน่วยบริการ อสม. และแกนนำชุมชนเพื่ออบรมชี้แจงกระบวนการและมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 โดยจัดอบรมในระหว่างวันที่ 14 – 16 ธันวาคม 2564 ณ ห้องประชุมศูนย์บริการสาธารณสุข(กาแป๊ะ กม.3) เทศบาลเมืองเบตง มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 111 คน ผู้เข้าร่วมอบรมมีความพึงพอใจภาพรวม ร้อยละ 91.34 (ดังเอกสารแนบท้าย) กิจกรรมที่ 2  คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ ดังนี้ - วันที่ 28 ธันวาคม 2564  ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา(ศาลาประชาคม) กลุ่มเป้าหมาย ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอย จำนวน 66 คน  (ผล Negative จำนวน  66 คน) - วันที่ 7 มกราคม 2565  ณ ตลาดสดเทศบาลเมืองเบตง ชั้น 2  กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนกลุ่มผู้สัมผัสเสี่ยงสูงในชุมชน/ผู้ประกอบการค้าในตลาดสด  จำนวน 134 คน  (ผล Negative จำนวน  133  คน ,      ผล Positive จำนวน 1 คน) - วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2565  ณ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเบตง  กลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ครู บุคลากรสถานศึกษาในเขตเทศบาลเมืองเบตง จำนวน 31 คน  (ผล Negative จำนวน  31 คน) - วันที่ 4 มีนาคม 2565  ณ  กองสวัสดิการสังคม เทศบาลเมืองเบตง  กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนกลุ่มผู้สัมผัสเสี่ยงสูงในชุมชน  จำนวน 16 คน  (ผล Negative จำนวน  14  คน , ผล Positive จำนวน 2 คน) - วันที่ 19 เมษายน 2565  ณ สำนักงานเทศบาลเมืองเบตง  กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนกลุ่มผู้สัมผัสเสี่ยงสูงในชุมชน  จำนวน 25 คน  (ผล Negative จำนวน  25  คน) - วันที่ 21 เมษายน 2565  ณ สำนักงานเทศบาลเมืองเบตง  กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนกลุ่มผู้สัมผัสเสี่ยงสูงในชุมชน  จำนวน 24 คน  (ผล Negative จำนวน  24  คน) - วันที่ 14 กรกฎาคม  2565  ณ สถาบันพัฒนาและส่งเสริมการศึกษาระดับอุดมศึกษาเพื่อการขยายโอกาส เทศบาลเมืองเบตง กลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ครู บุคลากรสถานศึกษาในเขตเทศบาลเมืองเบตง    จำนวน 85 คน  (ผล Negative จำนวน  85  คน) - วันที่ 19 สิงหาคม  2565  ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา(ศาลาประชาคม) กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ ผู้สูงอายุ ประชาชนกลุ่มผู้สัมผัสเสี่ยงสูงในชุมชน  จำนวน 79 คน  (ผล Negative จำนวน  65 คน , ผล Positive จำนวน 14 คน)

  2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ กิจกรรมที่ 1 ประชุมสมาชิก (ทีมงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง) จนท.หน่วยบริการ อสม. และแกนนำชุมชน เพื่ออบรมชี้แจงกระบวนการและมาตรการป้องกันโรคโควิด19 นำไปดำเนินการตามโครงการ          บรรลุตามวัตถุประสงค์ กิจกรรมที่ 2  คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่          ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ สถานการณ์โควิด-19 เริ่มเข้าสู่ภาวะปกติ 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมในแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 ประชุมสมาชิก (ทีมงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง) จนท.หน่วยบริการ อสม. และแกนนำชุมชน เพื่ออบรมชี้แจงกระบวนการและมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน111คน
    กิจกรรมที่ 2 คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม  จำนวน  470 ราย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชนประชาชนกลุ่มผู้สัมผัสเสี่ยงสูงในชุมชน/ผู้ประกอบการค้าในตลาดสด/ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอย/นักเรียน ครู บุคลากรสถานศึกษา ในเขตเทศบาลเมืองเบตง
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ความครอบคลุมในการคัดกรองประชาชนกลุ่มผู้สัมผัสเสี่ยงสูงในชุมชน ประชาชนกลุ่มผู้สัมผัสเสี่ยงสูงในชุมชน/ผู้ประกอบ การค้าในตลาดสด/ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอย/นักเรียน ครู บุคลากรสถานศึกษา ในเขตเทศบาลเมืองเบตง

 

2 ข้อที่ 2. เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจาก โควิด-19
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 90 ของผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1400
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชนประชาชนกลุ่มผู้สัมผัสเสี่ยงสูงในชุมชน/ผู้ประกอบการค้าในตลาดสด/ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอย/นักเรียน ครู บุคลากรสถานศึกษา ในเขตเทศบาลเมืองเบตง (2) ข้อที่ 2. เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจาก โควิด-19

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมสมาชิก (ทีมงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง) จนท.หน่วยบริการ อสม. และแกนนำชุมชน เพื่ออบรมชี้แจงกระบวนการและมาตรการป้องกันโรคโควิด19 นำไปดำเนินการตามโครงการ (2) กิจกรรมที่ 2 คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ (3) กิจกรรมที่ 3 ประเมินผล/สรุปผลการดำเนินงานโครงการ (4) กิจกรรมที่ 1 ประชุมสมาชิก (ทีมงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง) จนท.หน่วยบริการ อสม. และแกนนำชุมชน เพื่ออบรมชี้แจงกระบวนการและมาตรการป้องกันโรคโควิด19 นำไปดำเนินการตามโครงการ (5) คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ (6) คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ (7) คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ (8) คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ (9) คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ (10) คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ (11) คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ (12) คัดกรอง ATK ให้กับกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ (13) ประเมินผล/สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงติดในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) เทศบาลเมืองเบตง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2565 - L7161 - 5 - 1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมศักดิ์ เหมรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด