กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก ตำบลคูหา รพ.สต.คูหา
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.คูหา
วันที่อนุมัติ 23 พฤศจิกายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 26 พฤศจิกายน 2564 - 30 ธันวาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ธันวาคม 2564
งบประมาณ 19,040.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคูหา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ของ 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ ตรัง พัทลุง สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาสและสงขลา มีสถานการณ์ร้ายแรงไม่แพ้กรุงเทพฯและปริมณฑล เป็นเหตุให้รัฐบาลต้องประกาศมาตรการพิเศษเพื่อควบคุมการแพร่ระบาด โดยสถานการณ์การณ์โรคโควิด – 19 จังหวัดสงขลา ณ วันที่5 พฤศจิกายน 2564 พบผู้ป่วยยืนยันรายใหม่ 498 ราย อำเภอสะบ้าย้อยพบผู้ป่วยรายใหม่ ณ วันที่ 5 พฤศจิกายน 2564 จำนวน 12 ราย และพบผู้ป่วยจากการตรวจด้วยชุดตรวจการติดเชื้อโควิด-19 เบื้องต้น (ATK) ในพื้นที่ตำบลคูหา จำนวน 9 ราย
มาตรการสำคัญในการลดการแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 และลดความรุนแรงของอาการป่วย คือ การเร่งฉีดวัคซีนโควิด - 19 ให้กับกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงสูงในพื้นที่ จากผลการดำเนินการฉีดวัคซีน พบว่า อำเภอสะบ้าย้อยมีเปอร์เซ็นของการฉีดวัคซีนเข็มแรกเป็นอันดับสุดท้ายของจังหวัดสงขลา คิดเป็นร้อยละ 60.59 ในขณะที่การรับบริการฉีดวัคซีนเข็มแรกในพื้นที่ตำบลคูหามีเพียงร้อยละ 59.88(https://healthcare.skho.moph.go.th) ดังนั้น โรงพยาบาลสะบ้าย้อย ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทัพหลวง และองค์การบริหารส่วนตำบลคูหาจึงจัดโครงการโครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก ตำบลคูหาขึ้น เพื่อเพิ่มการเข้าถึงการฉีดวัคซีนในพื้นที่ตำบลคูหา ส่งผลให้สามารถลดการติดเชื้อและความรุนแรงของโรคโควิด – 19 ได้ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก

ร้อยละ 80 ของประชาชนในตำบลสามารถเข้าถึงบริการฉีดวัคซีน

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
26 พ.ย. 64 กิจกรรมการจัดบริการฉีดวัคซีนโควิด - 19 เชิงรุก ครั้งที่ 1 0 9,520.00 -
30 ธ.ค. 64 กิจกรรมการจัดบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก ครั้งที่ 2 0 9,520.00 -
รวม 0 19,040.00 0 0.00
  1. ประชุมเตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่ และประสานขอความร่วมมือหน่วยงานภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
  2. ประชาสัมพันธ์กิจกรรมให้กลุ่มเป้าหมายรับทราบ
  3. จัดเตรียมสถานที่สำหรับดำเนินการ ตามมาตรการ D - M - H - T - T - A
  4. ดำเนินกจกรรมตามแผนงานที่วางไว้
  5. สรุปโครงการเสนอต่อประธานกองทุนฯรับทราบ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สามารถลดการติดเชื้อ COVID - 19 ในผู้ที่ได้รับบริการฉีดวัคซีนได้
  2. สามารถลดความรุนแรงของอาการป่วยด้วยโรคติดเชื้อ COVID - 19 ในผู้ฉีดวัคซีนได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 พ.ย. 2564 08:44 น.