กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรตำบลกงหรา
รหัสโครงการ 60-01-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกงหราใหม่
วันที่อนุมัติ 29 สิงหาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2560 - 29 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 2,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ รพ.สต.บ้านกงหราใหม่
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกงหรา อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.463,99.877place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์กล่าวคือจะไปทะลายอวัยวะภายในร่างกายเช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระะสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่า เราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใดและปริมามากน้อยเท่าใดส่วนใหญ่แล้วการอวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้จึงแสดงอาการขึ้นมาเช่นโรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.จัดทำโครงการเสนอประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพเพื่อขออนุมัติโครงการ 2.จัดทำแผนปฏิบัติงานการดำเนินโครงการ 3.จัดรณรงค์ตรวจคัดกรองรณรงค์โครงการตรวจสารเคมีในเลือดเกตษรกร ในชุมชนพร้อมทั้งให้ความรู้เกี่ยวกับโรค การรักษา ผลกระทบ รวมถึงการป้องกันที่ถูกต้อง 4.แจ้งผลการตรวจสารเคมีในเลือดเกตษรกรแก่ผู้รับบริการ 5.สรุป/ประเมินผลการดำเนินงาน 6.รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด 2.ร้อยละ 100 ของผู้ตรวจพบสารเคมีในเลือด ได้รับชาชงรางจืดเพื่อเป็นการล้างสารเคมีในเลือด 3.ร้อยละ 100 ของผู้ตรวจพบสารเคมีในเลือดในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันสารเคมี

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ก.ย. 2560 12:51 น.