กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ


“ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้ที่เกี่ยวข้อง ประจำปี 2560 ”

ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซารีนี กูวิง

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้ที่เกี่ยวข้อง ประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้ที่เกี่ยวข้อง ประจำปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้ที่เกี่ยวข้อง ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้ที่เกี่ยวข้อง ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมในปัจจุบันจะมีผู้สูงอายุและมีผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวนเพิ่มขึ้น ส่วนผู้ที่ไม่ได้รับประทานยามีโอกาสเป็นเส้นเลือด ในสมองแตกตีบเพิ่มมากขึ้น บางรายลืมรับประทานยา บางรายเป็น โรค แล้ว ไม่ได้ไปพบแพทย์ เมื่อเป็นโรคเส้นเลือดในสมองแตกทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ กลายเป็นผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต ผู้ป่วยติดเตียง ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวลำบากช่วยเหลือตัวเองได้น้อยจำเป็น ต้องมีคนดูแล การดูแลผู้ป่วยติดเตียงต้องเป็นคนที่มีความรู้ ความสามารถพร้อมทั้งต้องมีอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ที่สะอาด สะดวก ปลอดภัยต่อผู้ป่วย ซึ่งผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น บางรายอาจมีแผลกดทับร่วมด้วย บางรายต้องให้อาหารทางสายยาง เป้าหมายสูงสุดของการดูแลผู้ป่วยคือ ผู้ป่วยต้องมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี จึงจำเป็นอย่างยิ่งของผู้ที่ดูแลต้องมีความรู้ มีทักษะการดูแลผู้ป่วย โดยการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติจริง ได้ให้การฟื้นฟูที่ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยจะสามารถใช้ชีวิตประจำวันและอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข และการเสียชีวิตที่มีคุณค่าที่สุดกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายที่จะให้ประชาชนเข้าถึงการบริการด้านสาธารณสุขที่สะดวกได้รับบริการที่ดี หากเป็นผู้ป่วยผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียงหรือผู้พิการต้องได้รับการบริการที่ดีเช่นเดียวกับที่โรงพยาบาล หากไม่จำเป็นก็ไม่ต้องมารับบริการโรงพยาบาล เพราะเป็นเรื่องที่ลำบากแลเสียค่า ใช้จ่ายสูง จึงได้จัดให้มีระบบการดูแลผู้ป่วยติดตียง ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ผู้พิการ การดูแลผู้ป่วยติดเตียงนับเป็นสิ่งที่ทำให้ลำบากในการดูแล จำเป็นต้องให้การดูแลเอาใจใส่จากผู้ดูแลอย่างต่อเนื่อง องค์การบริหารส่วนตำบลกะมิยอ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลผู้ป่วยติดเตียงจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้ที่เกี่ยวข้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ การอยู่ร่วมกัน สมาชิกครอบครัว
  2. เพื่อให้ผู้ดูแลและผู้ที่เกี่ยวข้องมีทักษะในการให้บริการแก่ผู้ป่วยเรื้อรัง
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยมีสุขภาพและจิตใจที่เข้มแข็ง
  4. เพื่อให้ครอบครัวอยู่อย่างมั่นคงและสังคมอยู่ดีมีสุข
  5. เพื่อให้รู้ผู้ป่วยได้รับการพัฒนาในด้านความรู้ และทักษะชีวิตการช่วยเหลือตนเองและการกายภาพบำบัดที่ถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 57
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. บุคคลในครอบครัวได้รู้ถึงความต้องการของผู้สูงอายุ
    2. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลดีขึ้นมากกว่าเดิม
    3. ลดอัตราการเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ
    4. ผู้สูงอายุมีความสุข ความอบอุ่นขึ้นมากกว่าเดิม
    5. ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้สูงอายุมากขึ้น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. บุคคลในครอบครัวได้รู้ถึงความต้องการของผู้สูงอายุ
    2. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลดีขึ้นมากกว่าเดิม
    3. ลดอัตราการเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ
    4. ผู้สูงอายุมีความสุข ความอบอุ่นขึ้นมากกว่าเดิม
    5. ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้สูงอายุมากขึ้น

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ การอยู่ร่วมกัน สมาชิกครอบครัว
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้ผู้ดูแลและผู้ที่เกี่ยวข้องมีทักษะในการให้บริการแก่ผู้ป่วยเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้ผู้ป่วยมีสุขภาพและจิตใจที่เข้มแข็ง
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อให้ครอบครัวอยู่อย่างมั่นคงและสังคมอยู่ดีมีสุข
    ตัวชี้วัด :

     

    5 เพื่อให้รู้ผู้ป่วยได้รับการพัฒนาในด้านความรู้ และทักษะชีวิตการช่วยเหลือตนเองและการกายภาพบำบัดที่ถูกวิธี
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 57
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 57
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ การอยู่ร่วมกัน สมาชิกครอบครัว (2) เพื่อให้ผู้ดูแลและผู้ที่เกี่ยวข้องมีทักษะในการให้บริการแก่ผู้ป่วยเรื้อรัง (3) เพื่อให้ผู้ป่วยมีสุขภาพและจิตใจที่เข้มแข็ง (4) เพื่อให้ครอบครัวอยู่อย่างมั่นคงและสังคมอยู่ดีมีสุข (5) เพื่อให้รู้ผู้ป่วยได้รับการพัฒนาในด้านความรู้ และทักษะชีวิตการช่วยเหลือตนเองและการกายภาพบำบัดที่ถูกวิธี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้ที่เกี่ยวข้อง ประจำปี 2560 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวซารีนี กูวิง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด