กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการ ป้องกันพลัดตกหกล้มในผู้สูงวัย เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2565 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
เทศบาลเมืองกันตัง

ชื่อโครงการ โครงการ ป้องกันพลัดตกหกล้มในผู้สูงวัย เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L6895-01-17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มกราคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ป้องกันพลัดตกหกล้มในผู้สูงวัย เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2565 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ป้องกันพลัดตกหกล้มในผู้สูงวัย เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ป้องกันพลัดตกหกล้มในผู้สูงวัย เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L6895-01-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มกราคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,840.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวเข้าสังคมสูงอายุโดยสมบูรณ์ ผลกระทบและการเตรียมความพร้อมรับมือกับสังคมผู้สูงอายุจึงมีความสำคัญ แนวโน้มสังคมผู้สูงอายุ ที่เพิ่มขึ้นย่อมส่งผลทำให้ปัจจัยการผลิตทางด้านแรงงานลดลง การออมลดลง แต่ค่าใช้จ่ายทางด้านสวัสดิการและการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น เพื่อดูแลและปฐมพยาบาลผู้สูงอายุมากขึ้น โดยเฉพาะผู้สูงอายุร่างกายทีเสื่อมลงตามอายุที่เพิ่มขึ้นอาจทำให้มีการผิดรูปของข้อต่างๆ ส่งผลให้เกิดข้อเสื่อม ทำให้มีการทรงตัว และการเคลื่อนไหวผิดปกติ ผลที่ตามมาคือ ทำให้เกิดการพลัดตกหกล้ม ผลกระทบของการพลัดตกหกล้มส่งผลทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจจากรายงานการพยากรณ์การพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ พ.ศ.2560-2564 คาดว่าจะมีผู้สูงอายุหกล้ม ปีละ 3,030,900-5,506,000 คน ซึ่งในจำนวนนี้จะมีผู้เสียชีวิตจำนวน 5,700-10,400 คน การพลัดตกหกล้มส่งผลกระทบตั้งแต่การบาดเจ็บเล็กน้อยจนถึงรุนแรงทำให้ความสามารถในการเคลื่อนไหวลดลงจนนำไปสู่ความพิการ ต้องพึ่งพาผู้อื่นหรือเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน ต่าง ๆ ซึ่งอัตราการเสียชีวิตจะเพิ่มสูงขึ้นตามอายุ นอกจากนี้ยังสัมพันธ์กับการรักษาและนอนโรงพยาบาล ที่มี ค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาเพิ่มสูงขึ้น จากข้อมูลรายงานสถิติการแพทย์ฉุกเฉินระหว่างเดือนมกราคม2564 - ธันวาคม 2564 จังหวัดตรัง พบว่าจำนวนผู้ป่วยที่ประสบอุบัติเหตุพลัดตกหกล้ม 5 อันดับแรกได้แก่ อำเภอเมืองตรัง จำนวน 683 ราย รองลงมาอำเภอห้วยยอด จำนวน 186 ราย อำเภอกันตัง จำนวน 143 ราย อำเภอย่านตาขาวจำนวน 111 รายและอำเภอนาโยง จำนวน 108 ราย ตามลำดับ ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง  ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เรียนรู้เรื่องวิธีการป้องกันการพลัดตกหกล้ม การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแรงของกล้ามเนื้อและการทรงตัว และการปรับปรุงที่อยู่อาศัยเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้ม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเอง สามารถ ปฏิบัติตัวในเรื่องการป้องกันการพลัดตกหกล้ม
  2. เพื่อลดอัตราการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ ลดความสูญเสียของการพัฒนาคุณภาพชีวิต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมตัวแทนแกนนำสุขภาพในชุมชน
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเอง สามารถปฏิบัติตัวป้องกันการพลัดตกหกล้ม
  2. อัตราการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการไม่เกินร้อยละ 5

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมตัวแทนแกนนำสุขภาพในชุมชน

วันที่ 25 เมษายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมตัวแทนแกนนำสุขภาพในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ตัวแทนแกนนำสุขภาพในชุมชน 12 ชุมชนๆ ละ 4 คน ให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องสรีระวิทยากับการเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุ และการป้องกันการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ พร้อมฝึกปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพของผู้สูงอายุ ในเรื่อง Time up and go Test และ Five time sit to stand test วันที่ 25 เม.ย. 65 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง
  2. ตัวแทนแกนนำสุขภาพในชุมชน ขยายเครือข่ายลงพื้นที่ร่วมคัดกรองผู้สูงอายุในชุมชน โดยใช้แบบประเมิน และแจ้งผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงให้เจ้าหน้าที่ทราบ เพื่อเชิญผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มเข้ารนับการอบรมที่จะจัดในเดือน พ.ค. 65

 

48 0

2. อบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 30 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มผู้สูงอายุที่ได้รับการประเมินความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มในชุมชน จำนวน 60 คน วันที่ 30 พ.ค. 65 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์การพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุและสรีระวิทยากับการเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุ การปรับสภาพแวดล้อมลดความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มของผู้สูงวัย พร้อมแบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4 ฐาน โดยทีมวิทยากรจาก สสจ.ตรัง รพ.กันตัง และ สสอ.กันตัง
  2. ประเมินความพึงพอใจในการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้เข้าร่วมประชุมตอบกลับแบบประเมินความพึงพอใจ จำนวน 54 คน สรุปผลได้ดังนี้ ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใตจในภาพรวมของการจัดกิจกรรมโครงการอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 89.6

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. กิจกรรมอบรมตัวแทนแกนนำสุขภาพในชุมชน 1.1 จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ตัวแทนแกนนำสุขภาพในชุมชน 12 ชุมชนๆ ละ 4 คน ให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องสรีระวิทยากับการเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุ และการป้องกันการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ พร้อมฝึกปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพของผู้สูงอายุ ในเรื่อง Time up and go Test และ Five time sit to stand test วันที่ 25 เม.ย. 65 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง 1.2 ตัวแทนแกนนำสุขภาพในชุมชน ขยายเครือข่ายลงพื้นที่ร่วมคัดกรองผู้สูงอายุในชุมชน โดยใช้แบบประเมิน และแจ้งผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงให้เจ้าหน้าที่ทราบ เพื่อเชิญผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มเข้ารนับการอบรมที่จะจัดในเดือน พ.ค. 65
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง 2.1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มผู้สูงอายุที่ได้รับการประเมินความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มในชุมชน จำนวน 60 คน วันที่ 30 พ.ค. 65 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์การพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุและสรีระวิทยากับการเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุ การปรับสภาพแวดล้อมลดความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มของผู้สูงวัย พร้อมแบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4 ฐาน โดยทีมวิทยากรจาก สสจ.ตรัง รพ.กันตัง และ สสอ.กันตัง 2.2 ประเมินความพึงพอใจในการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้เข้าร่วมประชุมตอบกลับแบบประเมินความพึงพอใจ จำนวน 54 คน สรุปผลได้ดังนี้ ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใตจในภาพรวมของการจัดกิจกรรมโครงการอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 89.6

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเอง สามารถ ปฏิบัติตัวในเรื่องการป้องกันการพลัดตกหกล้ม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจระดับมาก
0.00

 

2 เพื่อลดอัตราการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ ลดความสูญเสียของการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเอง สามารถ ปฏิบัติตัวในเรื่องการป้องกันการพลัดตกหกล้ม (2) เพื่อลดอัตราการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ  ลดความสูญเสียของการพัฒนาคุณภาพชีวิต

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมตัวแทนแกนนำสุขภาพในชุมชน (2) อบรมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ป้องกันพลัดตกหกล้มในผู้สูงวัย เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2565 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L6895-01-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( เทศบาลเมืองกันตัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด